สิ่งที่เรียกกันว่า “ประวัติศาสตร์โลก” นั้นก็คือการสรุปเอาความรู้กลุ่มหนึ่งมาจัดระบบรวมเข้าเป็นพื้นที่ ก่อรูปเป็นระบบความรู้ที่เชื่อมต่อกัน พูดแบบนักประวัติศาสตร์แล้ว พวกเราล้วนรู้ดีว่าประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติดำเนินมายาวนานหาจุดต้นไม่พบจุดปลายไม่เจอ หากนำเอาทุกเรื่องเขียนลงไปย่อมมิอาจทำได้ เท่ากับว่า เขียนส่วนหนึ่ง ย่อมทิ้งส่วนอื่น กอปรรวมกันเป็นระบบที่ยอมรับ จึงเรียกได้ว่าเป็นการเขียน “ประวัติศาสตร์” ผมเคยเขียนบทความหนึ่ง ชื่อว่า…
เราทุกคนคือชนชั้นแรงงาน
ในวันแรงงานสากล 1 พฤษภาคม หรือ International Workers’ Day ที่นิยมเรียกติดปากกันว่าวัน “May Day” เป็นวันที่มีประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนาน เป็นวันแห่งการเฉลิมฉลองของ “ชนชั้นแรงงาน” อาจเรียกได้ว่ามันเป็นวันของพวกเราทุกๆ คนที่เป็นแรงงาน เราอาจจะเกิดคำถามขึ้นมาว่า “ฉันไม่ได้แบกอิฐแบกปูน ฉันทำงานอยู่หน้าคอมพิวเตอร์ ฉันจะเป็นชนชั้นแรงงานได้ยังไง?”
คาร์ล มาร์กซ์ : “ข้าพเจ้าไม่ได้เป็นมาร์กซิสต์”
ไมเคิล ไฮน์ริช กล่าวว่า มาร์กซ์ไม่ได้พยายามสร้าง “ลัทธิมาร์กซ์” ขึ้นมาในฐานะสิ่งที่มุ่งนิยามตัวเองว่าเป็น “ความจริง” แต่มาร์กซ์ปรารถนาจะทำลายความจริงทั้งปวงลงต่างหาก
มิน ลัต แยะก่าว : ผู้บุกเบิกลัทธิคอมมิวนิสต์อิสรนิยมในพม่า
มิน ลัต แยะก่าวหรือที่รู้จักในนาม “Min Latt Ye Khaung” นักภาษาศาสตร์ชาวพม่า เป็นหนึ่งในนักศึกษาชาวพม่าสามคนแรกที่ได้ไปศึกษาเล่าเรียนที่กรุงปราก (Prague) ในช่วงทศวรรษที่ 1950 เขาเป็นนักเคลื่อนไหวที่ทรงอิทธิพลและเป็นผู้นำนักศึกษาในช่วงปี ค.ศ. 1947-48 กล่าวโดยสรุปคือ มิน ลัต แยะก่าว เป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกแนวคิดคอมมิวนิสต์อิสรนิยมในพม่า ที่ซึ่งฝ่ายซ้ายส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากแนวคิดเหมาอิสม์หรือไม่ก็สังคมประชาธิปไตย ด้วยการต่อต้านสิ่งที่เรียกว่าประชาธิปไตยรวมศูนย์และระบบราชการตามแบบมาร์กซิสม์-เลนินนิสม์และเหมาอิสม์ ตลอดจนรัฐบาลเผด็จการอำนาจนิยมของเขา
เจมส์ คอนนอลลี: ราชวงศ์อังกฤษคือตัวอย่างของการหมิ่นหยามประชาธิปไตย
ราชวงศ์อังกฤษคือสิ่งตกค้างของทรราชย์ เป็นสิ่งย้ำเตือนอันดีเยี่ยมให้นึกถึงสังคมลำดับชั้นและการปล้นชิง อย่างที่ เจมส์ คอนนอลลี (James Connolly) นักสังคมนิยมชาวไอริช ได้เขียนไว้ในปี 1911 ว่า เหล่าราชวงศ์มีอยู่เพื่อบรรดาผู้กดขี่ในสังคม อาทิ นายทุนและเจ้าที่ดิน ไม่ได้มีอยู่เพื่อชนชั้นแรงงาน
“ถึงสหายแรงงานทั้งผอง…”
Periphery, Core & Reconciliation
Here, we sit on the event horizon between core and periphery, if there is anywhere it can be reconciled, surely it must be here. Not just Thailand, but other regions that fall into the same global economic bracket of the middle-income trap. Can there be any interaction between the periphery and the core?
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐนิยมและชาตินิยม
ทุนนิยมก็ได้รับการอำนวยความสะดวกและไกล่เกลี่ยโดยรัฐ ทุกวันนี้ระบบทั้งสองต่างพึ่งพาอาศัยกันและกัน ลัทธิชาตินิยม ทำหน้าที่เป็นเชื้อเพลิงให้กับรัฐซึ่งเป็นชุมชนจินตภาพ ที่ซึ่งเราเชื่อมโยงถึงกันผ่านสายใยผูกพันธ์ภายในเส้นเขตพรมแดนที่แน่นอนของรัฐ ในหลาย ๆ ทางเราทุกคนต่างถูกผูกมัดด้วยการคิดแบบรัฐนิยม ซึ่งทำให้เรามองไม่เห็นความลึกตื้นหนาบางของความเป็นจริง มองข้ามความเป็นจริง ความแตกต่าง และความสลับซับซ้อนของความสัมพันธ์ทางสังคมและทางเศรษฐกิจของพวกเราเอง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจักรวรรดินิยม
ในขณะที่มีเศรษฐี มหาเศรษฐี และนายทุนที่ฉ้อฉลมากมายในอดีตประเทศใต้อาณานิคมและซีกโลกใต้ ท้ายที่สุดแล้วหากเราดูที่โครงสร้างทุนโลก จะเห็นได้ชัดเจนว่า สุดท้ายความมั่งคั่งก็ยังคงมุ่งหน้าไปยังอดีตเจ้าอาณานิคมและผู้รับช่วงต่อของประเทศเหล่านั้นในซีกโลกเหนือ เหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นซากเดนของจักรวรรดิที่ยังคงไม่ได้ตายจากไปไหน เป็นสิ่งที่ประกอบขึ้นมาเป็นโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ยังคงมีอยู่ทั่วโลกทุกวันนี้
กำเนิดทุนนิยมโลก
ถ้าเราเข้าใจอย่างคร่าว ๆ ว่า ระบบทุนนิยมคือระบบที่รีดเค้นความมั่งคั่งผ่านแรงงาน ในกรณีดังกล่าวเราก็จะเข้าใจได้ว่าระบบนี้เติบโตขึ้นมาอย่างไร และเราก็จะสามารถสืบสาวต้นกำเนิดและวิเคราะห์พัฒนาการอันต่อเนื่องของระบบทุนนิยมในช่วงเวลาที่ผ่านมาได้ การวิเคราะห์เช่นนี้จำเป็นต่อการทำความเข้าใจว่าเราจะตอบโต้ระบบทุนนิยมได้อย่างไรบ้าง โดยการดูว่า ตลอดประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา การโต้กลับแบบใดบ้างที่ใช้ได้ผล เพื่อให้สามารถเตรียมพร้อมโต้กลับในวิถีทางใหม่ ๆ ได้ในอนาคต
พระปฏิวัติชาวไอริชในพม่า
อนาคตที่ถูกหลงลืมของสากลนิยมต้านอาณานิคม : เรื่องราวสุดพิศวงของนักเคลื่อนไหวชาวพุทธเชื้อสายไอริช ผู้ต่อต้านอาณานิคมในยุคที่จักรวรรดิรุ่งเรืองในเอเชีย เผยให้เห็นธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงของสังคมอย่างขุดรากถอนโคน ซึ่งไม่ได้เกิดขึ้นอย่างเป็นเส้นตรง
A Blurred History of Insurgency – Patani
We spoke to Noor Netusha Nusaybah, a Malaysian Patani historian, about how today’s insurgency is connected and shaped by its post-WWII roots, which are often shrouded in misunderstandings, conflicting or competing narratives and secrecy.
In Remembrance of Kru Krong Chandavong
May is our month of memory. Beginning with International Workers’ Day, it marches past several anniversaries—the gunning down of Jit Phumisak on the 5th, the Rajprasong crackdown on Red Shirt protesters in mid-May, the 2014 coup on the 22th—only to end with the anniversary of the execution of schoolteacher-turned-politician Krong Chandavong in 1961 on the orders of Field Marshal Sarit Thanarat. Here, a poetic ode to Chandavong is translated on the anniversary of his death.
หัวหน้าคอนเดียรองค์แห่งศตวรรษที่ 17 ยังคงให้บทเรียนอันทรงคุณค่าแก่พวกเราอยู่
คำติฉินวิจารณ์ของเขาต่อความหมกมุ่นที่ยุโรปมีต่อเงินทองและทรัพย์สิน ถูกกล่าวถึงอย่างมีชีวิตชีวาโดยเดวิด เกรเบอร์ (David Graeber) และเดวิด เวนโกรว์ (David Wengrow) ในปณิธานอันหาญมุ่งแห่งอนาธิปไตย
Thaksin
Thaksin Shinawatra defined Thai politics for a generation and forever reshaped it. Somehow, this elite capitalist billionaire became the unquestioned champion for a destitute peasantry. Thaksin’s politics defied left-right categorisations, creating an economic miracle, lifting millions out of poverty while further developing the very same mechanisms of capital that had placed them in said destitution.
การผนวกศาสนาเข้ากับสังคมนิยมในการปฏิวัติแอฟริกา – อาเม็ด ตูเร่
คุณูปการอันโดดเด่นและสร้างสรรค์ของอาเม็ด ตูเร่ ต่อปรัชญาการต่อสู้ทางชนชั้น อุดมการณ์แบบตูเร่ (Touréism) คือการผสมผสานหลาย ๆ แง่มุมของระเบียบวิธีแบบมาร์กซิสต์-เลนินนิสต์ ให้เข้ากับค่านิยมและศาสนาตามธรรมเนียมของแอฟริกา
อเล็กซานดรา คอลอนไท (ตอนที่ 1) :การต่อสู้เพื่อเฟมินิสต์กรรมาชีพและผู้หญิงในพรรค
คอลอนไทเป็นมาร์กซิสต์ที่มุ่งมั่นจัดตั้งแรงงานหญิง เธอเถียงว่าการกดขี่ผู้หญิงนั้นฝังรากอยู่ในเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ คือ “การผลิตและการผลิตซ้ำของชีวิตในขณะนี้” ผลคือการปลดแอกผู้หญิงขึ้นอยู่กับการถอนรากถอนโคนทุนนิยม สังคมชนชั้นและการเอาเปรียบ และการจัดสรรการผลิตและชีวิตใหม่ของคอมมิวนิสต์
นาโต้และแอฟริกา : ความรุนแรงในอาณานิคม
เมื่อพิจารณาถึงความสนใจที่สื่อสาธารณชนมีต่อองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (NATO) ก็ควรค่าที่จะเตือนใจผู้คนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์อันนองเลือดที่นาโต้ได้ก่อไว้ในแอฟริกา
Aed Carabao: Made in Thailand
In 2017, English football fans were left bemused when the English Football League Cup was rebranded as the Carabao cup. A cursory Google led fans to an energy drink, seldom seen in UK shelves, and an ageing Thai rock band.
หลักชัยว่าด้วยการต่อสู้เพื่อปลดแอกสตรีของโทมัส – ซังคาร่า
วันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 1983 เป็นวันสักขีพยานของการลุกฮือของประชาชน เป็นการลุกฮือที่เกิดขึ้นในประเทศทางแอฟริกาตะวันตกที่ยากจนที่สุดแห่งหนึ่ง ซึ่งอยู่ทางตอนบนของโวลตา อาจนับได้ว่าเป็นหนึ่งในการปฎิวัติที่สัมฤทธิ์ผลมากที่สุดในประวัติศาสตร์แอฟริกัน ผู้นำการปฎิวัตินี้ก็คือ โทมัส ซังคาร่า ซึ่งเขากลายมาเป็นประธานาธิบดีของรัฐบาลที่มีแนวคิดปฎิวัติในวัยเพียง 33 ปี เมื่อปฎิวัติสำเร็จ ประเทศถูกเปลี่ยนชื่อเป็น Burkina Faso หรือ ดินแดนแห่งภราดรภาพ
ลัทธิชาตินิยมกับการต่อต้านรัฐในประเทศไทย
ปริมาณของความเป็นชาตินิยมรายวันที่เกิดขึ้นอย่างไม่หยุดหย่อนมีไว้เพื่อจุดประสงค์เดียว นั่นคือ เพื่อบังคับใช้อัตลักษณ์ความเป็นไทยและเชื่อมโยงสิ่งนี้เข้ากับรัฐ เพื่อให้ความเป็นไทย (being Thai) เป็นส่วนหนึ่งของรัฐชาติไทย อย่างไรก็ตาม แผนการใหญ่นี้ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างไม่มีปี่ไม่มีขลุ่ย อันที่จริงแล้ว มันคือการโต้กลับและโจมตีโดยตรงต่อประวัติศาสตร์อันยาวนานของการต่อต้านรัฐที่เกิดขึ้นในเขตแดนของประเทศไทยเอง
Was Thailand Colonised?
Thailand often joins a small list of ‘third world’ or ‘global south’ countries, along with Ethiopia and Afghanistan, that escaped the horrors of European colonisation. However, as with the aforementioned states, the claim is somewhat dubious. In reality, Siam was ‘all but’ colonised starting in the late 19th century and well into the 20th century.
ประเทศไทย : รัฐที่ 51?
ไม่ต้องสงสัยเลยว่า ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่ยึดมั่นในการทำตามคำสั่งของกรุงวอชิงตัน จึงไม่แปลกใจเมื่อถนอม กิตติขจร กล่าวอย่างตรงไปตรงมาว่า สำหรับสหรัฐอเมริกาแล้ว ประเทศไทยก็คือรัฐที่ 51 -ตีพิมพ์ครั้งแรกใน The Tricontinental ในปี พ.ศ. 2512 (1969)
ลัทธิอาณานิคมนิยม กับการรุกไล่จากภายใน
รูปร่างของจักรวรรดินิยมในไทยจึงเรียกได้ว่า auto-imperialism imperialism โครงสร้างทางอำนาจในที่นี้หมายถึงอำนาจที่ต้องการจะแผ่ขยายอิทธิพลของตนออกไปในรูปแบบของพรมแดนแผนที่รัฐที่กว้างออกไป และ auto หมายถึงกระบวนการกัดกินตัวเองโดยตนเองหรือจากภายใน จากคำว่า auto-cannibalism เช่น อาการกัดกัดเล็บโดยไม่รู้ตัวเมื่อยู่ในสภาวะตึงเครียด รวมเป็น auto-imperialism จึงหมายถึงกระบวนการเข้าครอบงำจากรัฐในฐานะเจ้าจักรวรรดิที่กระทำต่อจังหวัดต่างๆ
The Real Face of Thai Feudalism Today TLDR – Part 2
In this second article, we will outline the different periods in Tai history, beginning in the ‘primitive communism era’ and concluding in the formation of the Saktina state, examining how they developed through Jit’s understanding of historical materialism.
Music For Life – Revisited
Ties between many of the original and most influential radical folk artists and their anti-capitalist beginnings seem to have frayed long ago. In an exercise of separating art from artist, leftists today must analyze the troubling messages espoused by many of these artists during the tumultuous political period from 2008-2014.
ประวัติศาสตร์ขบวนการอนาธิปไตยเกาหลี
อนาธิปไตยนั้นดำรงอยู่ในประวัติศาสตร์ของมนุษย์มายาวนานนับพันปี ไม่เว้นแม้แต่ดินแดนตะวันออกไกลอย่างจีน เกาหลี และญี่ปุ่น บทความที่ 9 ในขบวนการเคลื่อนไหวรอบโลกจะพาคุณไปทำความรู้จักต้นกำเนิดอนาธิปไตยสมัยใหม่ของเกาหลี ที่เริ่มต้นตั้งแต่การรุกรานของจักรวรรดิญี่ปุ่น และผ่านศึกมามากมายจากทั้งกับเจ้าจักรวรรดิเอง และสหภาพโซเวียตยุคสตาลิน อย่างน้อยเราควรรับรู้ว่าพวกเขามีตัวตนอยู่จริง การเคลื่อนไหวเหล่านั้นเคยเกิดขึ้นจริง และยังคงส่งผลสืบเนื่องมายังนักอนาธิปไตยเกาหลีรุ่นใหม่ๆ ในปัจจุบัน
The Real Face of Thai Feudalism Today TLDR – Part I
The purpose of the book was to expose how the plight of the rural Thai peasant in the 1950’s was a vestige rooted in the old feudal system, laying bare its horrors and its exploitative framework. Jit wrote this book as an antagonistic rebuttal against the revisionist history of the ruling classes taught to most Thai’s at the time (and still today), which typically depicts a utopian agrarian past, rather than the brutal exploitative reality.
เผด็จการฟาสซิสต์ยุโรปแบบไทย ๆ
ด้วยคำสั่งปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม รัฐนิยม 12 ข้อได้ถูกประกาศใช้ ซึ่งคำสั่งนี้ประกอบด้วยทั้ง เรื่องการแต่งกายของประชาชนชาวไทย เรื่องภาษาและหนังสือไทยกับหน้าที่พลเมืองดี รวมไปถึงเรื่องกิจวัตรประจำวันว่าควรกินหรือนอนอย่างไรเวลาเท่าใด ซึ่งในเมื่อก่อนนั้นถือว่าเป็นเรื่องแปลกใหม่ ทั้งข้อต่าง ๆ ในประกาศฉบับนี้ใช้บังคับกับทุกสิ่งเท่าที่จะเป็นไปได้ ด้วยเป้าหมายเพื่อสร้างนิยามความเป็นไทยของตัวเองและเผยแพร่ความเป็นไทยไปทั่วแผ่นดิน
Euro-Fascism with Thai Characteristics
In the 1930s, Thailand began a project of mass homogeneity based on western Euro-Fascism. This project was refined by the monarchy in the 1950s, leading to a reactionary consensus lasting a half-century. However, many elements in the recent protest movement, so far, fail to recognise their own deep-seated Euro-fascist tendencies when challenging the contemporary Thai state.
Haji Sulong – Patani’s Reformer, Martyr and Father
The name Haji Sulong is little known in Thailand proper, despite being considered a hero and the founding father of the modern separatist movement in Thailand’s deep south ‘Patani’ region. Little is known outside the region about the conflict that erupted following his death, showing just how localised a civil war can be. This nescience is embodied in Haji Sulong, a man who lived an extraordinary life, was wildly influential and yet almost totally unknown to Thai society at large.
Thai Imperialism and Colonisation
An examination of Thailand’s internal ‘auto-imperialism’, how the state works to capture populations on the fringes of the kingdom and put them to use for the nation’s imperial core. Exploring the roots, history and present-day effects of Thai ‘auto-imperialism’.
State Racism in Thailand: Capitalism, China, and Ultranationalism
If in the United States, the police are shown to uphold systemic racism, what are some sources and examples of systemic racism in Thailand? Here Capitalism leads to the exploitation of migrant workers, the State alters attitudes towards Chinese people due to National Agenda changes, and the country’s history of Fascism…
Jit Phumisak, a Eulogy
Jit Phumisak became the first to truly expose Thai history, to lay it bare for what it really was, and inspire a radical attempt to restructure the kingdom, sometimes referred to as the Che Guevara of Thailand, Jit’s legacy as a folk hero of the working class lives on today.
Music For Life – A New Generation Rises
The soft guitar and haunting vocals ring out: “He died in the outskirts of a jungle. His red blood spilled all over Isaan soil. It’s red colour will last forever. He died worthless, but his name lives on. People asked about him, craving to know more about Jit Phumisak. A philosopher and author who lit the candle for common people.”
How leftist Thai folk radicalised a generation and continues to inspire today.
Nationalism & Anti-Statehood In Thailand
Ceaseless doses of daily nationalism serve one purpose, to enforce the Thai identity and link it to the state, to make being Thai part of the Thai national state. This grand plan, however, did not come out of nowhere. It is, in fact, a direct response and attack on the long history of anti statehood found inside of Thailand’s borders.