Writer and political scientist Myo Min, examines the institutional characteristics of the Tatmadaw, exploring their self-appointed role as the parental guardians of the nation and how this led to the February coup in Burma.
Insurgency In Yangon – Interview
We spoke to Myo Min, an ethnic Rohingya, Din Deng contributor, activist and Yangon resident about the current situation in the former capital city on the eve of war. In the past few months an underground insurgency has grown in the city and life for it’s residents has become increasingly dangerous, although many are determined to aid the movement against the military junta.
ความรุนแรงของตำรวจ : วิธีการที่ผู้ประท้วงทั่วโลกใช้ต่อต้านความรุนแรงที่มาจากรัฐ
กองกำลังตำรวจทั่วโลกมีกลวิธีในการจัดการควบคุมการประท้วงที่พวกเขาใช้ร่วมกัน และผู้ประท้วงก็ควรมีกลวิธีในการป้องกันตัวเองเช่นเดียวกัน บทความชิ้นนี้พาสำรวจขบวนการเคลื่อนไหวประท้วงอันแตกต่างหลากหลายและวิธีการที่พวกเขาใช้ในการรับมือความรุนแรงของตำรวจ พร้อมเคล็ดลับแบบต่าง ๆ ที่ผู้มีส่วนร่วมในการประท้วงนิยมใช้กัน
The Rohingya and a New Dawn in Burma
Rohingya writer Myo Min shares his hopes for the future of the Burmese governments as it relates to his people.
สนทนากับสหายในพม่า ว่าด้วยทิศทางการประท้วงรัฐบาลทหาร
รัฐประหารที่พม่าเมื่อเดือนกุมภาพันธ์นั้นตามมาด้วยการชุมนุมประท้วงจากประชาชนที่ไม่ยอมจำนน พวกเขาถูกรัฐทหารใช้ความรุนแรงเพื่อปราบปราม บ้างบาดเจ็บ บ้างถูกจับกุม และเลวร้ายที่สุดคือเสียชีวิต นี่คือการต่อสู้ที่ไม่อาจจบสิ้นได้โดยง่าย เหล่าผู้ชุมนุมและแกนนำจำต้องค้นหายุทธวิธีในการต่อต้านขัดขืน เพื่อนำเอาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และชีวิตที่เป็นอิสระกลับคืนมา บทสัมภาษณ์สั้นๆ ชิ้นนี้จะช่วยให้เราเข้าใจทิศทางของสหายในพม่าต่อการประท้วงที่กำลังเกิดขึ้น
February Revolution Burma & The Road Forward
A protest organiser in Burma reflects on the current crisis following the February 1st coup. Examining the road that led there, the state of Burma’s “Military Bureaucratic Capitalist System” and the future of the movement.
Rohingya Lives Matter As Well – Healthcare in the Rohingya Camps
An insight into many of the difficulties faced by the Rohingya people in the IDP camps in Burma, how despite the work of international charities the government healthcare workers and the localised racism holds back any real future in which the most vulnerable people in Burma can have some kind of dignified life.
เป็น คะเรนนี
ในทุกๆ ปี หุบเขากะเหรี่ยงนั้นมีชีวิตชีวาด้วยเสียงร้องเพลงและการละเล่นของเด็กๆ ที่เดินดุ่มเข้าไปในป่า พวกผู้ใหญ่จะถือขวานและเลื่อยนำทางไปยังต้นไม้ใหญ่เพื่อโค่นมันลงมา พอกลุ่มที่เข้าไปในป่าแบกฟืนกลับมาที่หมู่บ้าน เหล่าผู้หญิงและเด็กเล็กๆ ก็จะรี่ออกมาจากกระท่อมของพวกเขา มีการเล่นดนตรีและการบูชายัญ ไก่ถูกเชือดและถอนขน เนื้อของมันถูกแจกจ่ายไปทั่วหมู่บ้านเพื่อแสดงความเป็นมงคล ความเป็นชุมชน และประเพณี