เฟมินิสต์เองก็เป็นอนาคิสต์

เฟมินิสต์เองก็เป็นอนาคิสต์

แนวทางขบวนการเฟมินิสต์ปฏิบัติในสิ่งที่อนาคิสต์ป่าวประกาศ บางคนถึงขั้นกล่าวว่า เฟมินิสต์คือขบวนการที่มีลมหายใจสุดท้ายที่สามารถขานเรียกตนเองว่ากำลังปฏิบัติการแบบอนาคิสต์ได้ เพราะผู้หญิงทุ่มเททำงานให้กับโครงการบางอย่างเป็นการเฉพาะ เช่น คลินิกทำแท้ง หรือศูนย์เด็กเล็ก และสแม้จะดูไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง ส่วนใหญ่แล้วพวกเธอไม่ยอมวุ่นอยู่กับการต่อสู้ทางการเมืองที่แบ่งขั้วซ้าย-ขวา และปฏิรูป-ปฏิวัติอย่างไรก็ตาม แต่งานเหล่านี้กลับคุกคามทั้งฝ่ายขวาและฝ่ายซ้าย และประวัติศาสตร์ของเฟมินิสต์ก็กล่าวถึงการที่ข้อเรียกร้องของพวกเธอถูกมองข้าม ถูกใช้ทั้งในกระบวนการกฎหมายจากกลุ่มการเมือง และในทางทฤษฎีจากฝ่ายซ้าย

หลักชัยว่าด้วยการต่อสู้เพื่อปลดแอกสตรีของโทมัส – ซังคาร่า

หลักชัยว่าด้วยการต่อสู้เพื่อปลดแอกสตรีของโทมัส – ซังคาร่า

วันที่ 4 สิงหาคม ค.ศ. 1983 เป็นวันสักขีพยานของการลุกฮือของประชาชน เป็นการลุกฮือที่เกิดขึ้นในประเทศทางแอฟริกาตะวันตกที่ยากจนที่สุดแห่งหนึ่ง ซึ่งอยู่ทางตอนบนของโวลตา อาจนับได้ว่าเป็นหนึ่งในการปฎิวัติที่สัมฤทธิ์ผลมากที่สุดในประวัติศาสตร์แอฟริกัน ผู้นำการปฎิวัตินี้ก็คือ โทมัส ซังคาร่า ซึ่งเขากลายมาเป็นประธานาธิบดีของรัฐบาลที่มีแนวคิดปฎิวัติในวัยเพียง 33 ปี เมื่อปฎิวัติสำเร็จ ประเทศถูกเปลี่ยนชื่อเป็น Burkina Faso หรือ ดินแดนแห่งภราดรภาพ

ผู้หญิงกับอนาธิปไตย

ผู้หญิงกับอนาธิปไตย

สตรีถูกดึงดูดโดยแนวคิดอนาธิปไตยเพราะมันคือหนทางไปสู่การปลดแอกตนเอง แต่ความเป็นจริงเหล่าสตรีกลับต้องเผชิญการเหยียดหยามจากผู้ชายในขบวนการ และนักอนาธิปไตยของแรกอย่างพรูดองยังมองว่าผู้หญิงเป็นแค่ “เครื่องสืบพันธุ์” นี่ช่างเป็นความน่าหนักใจที่ขบวนการซึ่งเชิดชูความเท่าเทียมกลับมีทัศนคติอันเลวร้ายเช่นนี้ แต่ในประวัติศาสตร์การต่อสู้ ผู้หญิงมีบทบาทมากมาย และมีนักอนาธิปไตยหญิงจำนวนหนึ่งที่โดดเด่นไม่แพ้ผู้ชาย

ทำไมฉันถึงไม่เป็นเฟมินิสต์: วงสนทนาเรื่องเฟมินิสต์ผ่านกิจกรรม Reading Group

ทำไมฉันถึงไม่เป็นเฟมินิสต์: วงสนทนาเรื่องเฟมินิสต์ผ่านกิจกรรม Reading Group

ชวนคุยเรื่อง Feminism ผ่านหนังสือ Why I am not a Feminist ของ Jessa Crispin เพื่อดูข้อเสนอที่วิพากษ์ขบวนการเฟมินิสต์ในปัจจุบันจากกรอบของสังคนิยม