คำว่าการเหยียดชนชั้น (classism) มีข้อเสียหลายอย่าง หนึ่งในนั้นคือการเน้นไปที่การดูถูกเหยียดหยามมากกว่าความเสียหายจริง มันก็เป็นเหมือนคำย่อของการกดขี่ทางสังคมนั่นเองและปกปิดความเป็นจริงของระบบทุนนิยมที่คอยข่มเหงและทำให้เกิดการลบภาพชนชั้นนำทางเศรษฐกิจออกไป
การปฏิวัติชนชั้นกรรมาชีพในตะวันตกนั้นเป็นไปไม่ได้
ประเทศในซีกโลกเหนือแทบไม่มีการผลิตสินค้าที่เป็นวัตถุอยู่เลย มีเพียงเงินทุนในการจ้างเพื่องานบริการ หนี้ และการถือครองทรัพย์สินในต่างประเทศ การมีอยู่ของชนชั้นกรรมาชีพในซีกโลกเหนือนั้นวางรากฐานอยู่บนแรงงานในซีกโลกใต้ พร้อม ๆ ไปกับการรีดเค้นพวกเขาอย่างไม่หยุดยั้ง ก่อเกิดเป็นข้อสงสัยขึ้นมาว่า การปฏิวัติชนชั้นกรรมาชีพที่ประสบความสำเร็จในซีกโลกเหนือ สามารถสร้างเศรษฐกิจที่จะมาแทนที่กระฎุมพีระดับโลกในปัจจุบันได้หรือไม่ ?
“ห้องสมุดตายแล้ว ทุนแอนด์ดิจิทัลจงเจริญ!”
เรื่องที่ผมต้องการจะพูดแก่ท่านทั้งหลายคือ ในขณะที่ความเจริญงอกงามของกิจการหนังสือยอดขายสิ่งพิมพ์ที่เพิ่มสูงขึ้น หนังสือวิชาการหรือจะเป็นนิยาย วรรณกรรม ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศถูกแปลออกมามากขึ้น เหล่านี้เป็นเครื่องบ่งชี้ว่าสังคมกำลังเติบโตทางความคิดอย่างมาก แต่ท่านทั้งหลายครับ ณ ห้วงยามที่น่าปีตินี้กลับเกิดเหตุอาเพศขึ้นที่คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยหัวเมืองภาคเหนืออันขึ้นชื่อว่าเป็นมหาวิทยาลัยอันดับต้นๆ
เดวิด ฮาร์วีย์: จินตนาการถึงสังคมใหม่ที่ไม่ใช่ทุนนิยม
การระบาดของไวรัสโคโรนาในปี 2019 กำลังเชื้อเชิญให้เราคิดและจินตนาการถึงความเปลี่ยนแปลง เดวิด ฮาร์วีย์ นักวิชาการมาร์กซิสต์ ใช้โอกาสนี้ในการอธิบายว่าเราสามารถใช้แนวคิดของ คาร์ล มาร์กซ์ มาทบทวนและอธิบายสภาวการณ์ในปัจจุบันได้อย่างไรบ้าง โดยเฉพาะเรื่องเสรีภาพของมนุษย์ภายใต้การปลดแอกจากระบบทุนนิยม
ไรเดอร์ทุกแห่งหนจงรวมตัวกัน: บทสัมภาษณ์สหายจากสหภาพไรเดอร์
บทสัมภาษณ์ตัวแทนสหภาพไรเดอร์ กลุ่มคนที่ลุกขึ้นมาเรียกร้องความเป็นธรรมจากระบบทุนนิยม ที่ทำให้ความรับผิดชอบตกเป็นของคนทำงาน ไร้ซึ่งสวัสดิการและความมั่นคง ไม่ต่างอะไรจากการเป็นทาส พวกเขาเริ่มต้นก่อตั้งสหภาพได้อย่างไร ผมตอบรับเป็นแบบไหน และพวกเขามีเป้าหมายในอนาคตอย่างไร ติดตามได้ในบทสัมภาษณ์นี้
ฟรีแลนซ์ และจริยศาสตร์การทำงานแบบโปรแตสแตนท์
ภาพยนต์ ฟรีแลนซ์ ห้ามป่วย ห้ามพัก ห้ามรักหมอ (2015) ที่กำกับโดย นวพล ธำรงค์รัตนฤทธิ์ เป็นตัวอย่างที่หาได้ยากของภาพยนต์ไทยที่มีเนื้อหาแบบมาร์กซิสต์ โดยภาพยนต์เรื่องนี้ได้แฝงไปด้วยมุมมองการวิพากษ์ต่อระบบทุนนิยมและจริยศาสตร์การทำงานแบบโปรแตสแตนท์แบบมาร์กซิสต์ที่เราทั้งแบบแนบเนียนและตรงไปตรงมา
นิเวศวิทยาสังคม: มนุษย์นิยมเชิงนิเวศ โดย Daniel Chodorkoff
บทความสั้นๆ ชิ้นนี้ให้ภาพรวมขององค์ความรู้ที่เรียกว่า นิเวศวิทยาสังคม ซึ่งเป็นแนวคิดว่าด้วยความสัมพันธ์ของมนุษย์กับโลกธรรมชาติ นิเวศวิทยาสังคมต้องการที่จะเสนอว่า ธรรมชาติกับมนุษย์นั้นไม่ใช่สิ่งที่แยกขาดจากกันในแบบที่เรามักเข้าใจ ไม่ว่าจะฝ่ายนักอนุรักษ์ที่ต้องการกีดกันมนุษย์ออกจากธรรมชาติ หรือฝ่ายก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและทุนนิยมที่จ้องจะล้างผลาญธรรมชาติ และมองธรมชาติในฐานะทรัพยากรที่จะไปหยิบมาใช้อย่างไรก็ได้
ย้อนคิดสภาวะ “การเมืองที่แท้จริง” ของสลาวอย ชิเชก กับสถานการณ์ในปัจจุบัน
พวกเขาจะบอกว่าพวกคุณกำลังฝันอยู่ แต่พวกช่างฝันที่แท้จริงคือคนที่คิดว่าสิ่งต่าง ๆ จะดำเนินไปอย่างไม่สิ้นสุดตามทางของมัน แค่เปลี่ยนเสื้อผ้าหน้าผมสักหน่อยแค่นั้น เราจึงไม่ใช่พวกช่างฝัน; เราคือผู้ที่ตื่นขึ้นมาจากความฝันที่กำลังจะเปลี่ยนไปเป็นฝันร้าย เราไม่ได้ทำลายอะไรลงไป; เราแค่เป็นเพียงพยานที่กำลังมองเห็นระบบมันทำลายตัวเองลงอย่างช้า
เป็นคอมมิวนิสต์ซื้อของแบรนด์เนมได้หรือไม่?
คอมมิวนิสต์ไม่ได้ต่อต้านเทคโนโลยี ไม่ได้บูชาความยากลำบาก เราเพียงต้องการชีวิตที่ดีกว่าเดิม ชีวิตที่ดีกว่าเดิมหมายถึงการที่เราทุกคนอยู่ในสังคมที่มีพลังการผลิตที่ก้าวหน้า และสิ่งที่สังคมทุนนิยมให้ไม่ได้แต่สังคมคอมมิวนิสต์ให้ได้ก็คือ ข้อสมมติฐานที่ว่าเราทุกคนจะได้เป็นเจ้าของความมั่งคั่งที่เกิดจากพลังการผลิตที่ก้าวหน้าภายในสังคมทั้งหมด
กระต่ายกับเต่า: การแข่งขัน การแตกหัก และความไร้สาระ
นิทานเรื่องกระต่ายกับเต่า คืออุปมาที่ช่วยให้เรามองเห็นการแข่งขันที่แสนจะดูโง่เง่าไร้สาระ ทำไมกระต่ายจึงไปท้าเต่าแข่งทั้งที่รู้ว่าเต่าไม่มีทางชนะ แต่เมื่อเอามาวิเคราะห์กับระบบเศรษฐกิจในปัจจุบัน เราจะเห็นได้ว่าการแข่งขันระหว่างกระต่ายกับเจ่านั้นกำลังเกิดขึ้นจริง กระต่ายที่เป็นนายทุนใหญ่เพีบง 1% กับเต่าที่เป็นคนอีก 99% ที่เหลือ
Freelance & The Protestant Work Ethic
The 2015 film Freelance (English title Heart Attack) directed by Nawapol Thamrongrattanarit is an extremely rare example of Marxist Thai cinema. Knowingly or not the film explores a number of Marxist critiques of capitalism and The Protestant Work Ethnic.
เรากล้าจินตนาการถึงโลกที่ปราศจาก ‘งาน’ หรือเปล่า?
แทนที่พวกเราจะมุ่งทำลายล้างบรรดางานที่ได้รับค่าแรงให้หมดไป พวกเรากลับพยายามอย่างหนักเพื่อให้งานที่ไม่ได้ค่าแรงนั้นหมดไปแทน นี่คือสภาพของการลงหลักปักฐานของความคิดว่าด้วยการดำรงอยู่และความจำเป็นของงานที่ได้รับค่าจ้าง
คอกกั้นในตึกระฟ้าย่านสาทร และดอกทานตะวันของกินส์เบิร์ก
ในสังคมเมืองที่มีประชากรแออัด ฐานะส่งผลกับขนาดและสภาพแวดล้อมของสถานที่อยู่อาศัย ยิ่งบุคคลมีฐานะดี ก็มักจะเลือกสถานที่อยู่อาศัยที่กว้างขวางและมีสภาพแวดล้อมที่ดี