แนวทางขบวนการเฟมินิสต์ปฏิบัติในสิ่งที่อนาคิสต์ป่าวประกาศ บางคนถึงขั้นกล่าวว่า เฟมินิสต์คือขบวนการที่มีลมหายใจสุดท้ายที่สามารถขานเรียกตนเองว่ากำลังปฏิบัติการแบบอนาคิสต์ได้ เพราะผู้หญิงทุ่มเททำงานให้กับโครงการบางอย่างเป็นการเฉพาะ เช่น คลินิกทำแท้ง หรือศูนย์เด็กเล็ก และสแม้จะดูไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง ส่วนใหญ่แล้วพวกเธอไม่ยอมวุ่นอยู่กับการต่อสู้ทางการเมืองที่แบ่งขั้วซ้าย-ขวา และปฏิรูป-ปฏิวัติอย่างไรก็ตาม แต่งานเหล่านี้กลับคุกคามทั้งฝ่ายขวาและฝ่ายซ้าย และประวัติศาสตร์ของเฟมินิสต์ก็กล่าวถึงการที่ข้อเรียกร้องของพวกเธอถูกมองข้าม ถูกใช้ทั้งในกระบวนการกฎหมายจากกลุ่มการเมือง และในทางทฤษฎีจากฝ่ายซ้าย
คอมมิวนิสม์อันมีชีวิตจากสำนึกของรากหญ้า (Abahlali baseMjondolo)
บทความที่ 8 ในซีรีย์ขบวนการเคลื่อนไหวทั่วโลก Abahlali baseMjondolo คือขบวนการรากหญ้าในแอฟริกาใต้ที่มุ่งสร้างสังคมการเมืองของคนจน เน้นการกระจายศูนย์อำนาจ การตัดสินใจร่วมกัน ปัญหาที่อยู่อาศัยและที่ดิน และคงความเป็นอิสระไม่พึ่งพาองค์กรอำนาจใดๆ พวกเขาต้องการสร้างการเมืองที่ทุกคนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง การเมืองที่เรียกว่า “คอมมิวนิสม์ที่มีชีวิต”
ผู้หญิงกับอนาธิปไตย
สตรีถูกดึงดูดโดยแนวคิดอนาธิปไตยเพราะมันคือหนทางไปสู่การปลดแอกตนเอง แต่ความเป็นจริงเหล่าสตรีกลับต้องเผชิญการเหยียดหยามจากผู้ชายในขบวนการ และนักอนาธิปไตยของแรกอย่างพรูดองยังมองว่าผู้หญิงเป็นแค่ “เครื่องสืบพันธุ์” นี่ช่างเป็นความน่าหนักใจที่ขบวนการซึ่งเชิดชูความเท่าเทียมกลับมีทัศนคติอันเลวร้ายเช่นนี้ แต่ในประวัติศาสตร์การต่อสู้ ผู้หญิงมีบทบาทมากมาย และมีนักอนาธิปไตยหญิงจำนวนหนึ่งที่โดดเด่นไม่แพ้ผู้ชาย
Pai & Nice / UNME & DaoDin Interview – Part 2
We spoke to two senior Isaan activists, both graduates of the Dao Din student group. Pai from UNME of Anarchy and Nice from Dao Din about their beliefs, influences, tactics and the character of Isaan. We previously interviewed another Dao Din activist for some background information on the group.
ประกาศเกี่ยวกับห้องสมุดอนาธิปไตยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ห้องสมุดอนาธิปไตยเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (The Southeast Asian Anarchist Library) เป็นภารกิจล่าสุดของห้องสมุดอนาธิปไตย ที่รวบรวมงานเขียนเกี่ยวกับอนาธิปไตยในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืองานเขียนที่เป็นภาษาในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เอาไว้ด้วยกัน
สวรรค์จากเถ้าถ่าน
ชาวโรจาวาได้ให้สัมภาษณ์ว่า “เราต่อต้านระบบอำนาจจากบนลงล่าง (top-down) เราต้องการระบบที่ปฏิบัติการจากล่างขึ้นบน” หลักการของคอมมูนคือ “ไม่มีใครรู้ดีว่าคุณหรือชุมชนของคุณต้องการอะไร มากไปกว่าคุณและชุมชนคุณเอง” นี่คือองค์กรทางสังคมแบบล่างขึ้นบน หรือเรียกว่าระบบแนวระนาบ (horizontal organisation of society) นั่นเอง
Brian Morris – มานุษยวิทยากับอนาธิปไตย
มานุษยวิทยากับอนาธิปไตยนั้นมี “ความเกี่ยวดองกันอย่างสมัครใจ” อยู่หลายทางด้วยกัน แม้ว่าสิ่งที่มานุษยวิทยาสนใจจะศึกษานั้นมีหลายหลาก ถูกซอยย่อยออกไป และการสำรวจของมันก็ค่อนข้างที่จะกว้าง เนื่องจากเป็นการศึกษาวัฒนธรรมของมนุษย์ แต่ในทางประวัติศาสตร์แล้วก็ยังมีความเฉพาะเจาะจงอยู่ นั่นคือการศึกษาสภาพสังคมก่อนที่จะมีรัฐ
BENJAMIN ZEPHANIAH – ทำไมผมถึงเป็นนักอนาธิปไตย
Peam Pooyongyut Benjamin Zephaniah เป็นกวี นักเขียน และนักเคลื่อนไหวชาวจาไมก้า เขามีผลงานมากมายที่ประจักษ์ต่อสาธารณะชน การอ่านบทกวีของเขานั้นผสมดนตรี dub เข้าไปด้วย เนื่องจากได้อิทธิพลจากวัฒนธรรมบ้านเกิด ข้อเขียนชิ้นนี้ถูกเผยแพร่ครั้งแรกในนิตยสาร Dog Section...