ความเค็มกัดกินชีวิต: บันทึกโศกนาฏกรรมเหมืองแร่โปแตช อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา

ความเค็มกัดกินชีวิต: บันทึกโศกนาฏกรรมเหมืองแร่โปแตช อ.ด่านขุนทด จ.นครราชสีมา

ชีวิตคนในอีสาน ณ หมู่บ้านหนองไทรต้องทนทุกข์มานานหลายสิบปีจากผลกระทบการทำอุตสาหกรรมเกลือ ถึงแม้ว่านี่จะไม่ใช่วิบากกรรมจากเกลืออีสานครั้งแรก แต่รากเหง้าของปัญหายังคงไม่ได้รับการแก้ไข

เราทุกคนคือชนชั้นแรงงาน

เราทุกคนคือชนชั้นแรงงาน

ในวันแรงงานสากล 1 พฤษภาคม หรือ International Workers’ Day ที่นิยมเรียกติดปากกันว่าวัน “May Day” เป็นวันที่มีประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนาน เป็นวันแห่งการเฉลิมฉลองของ “ชนชั้นแรงงาน” อาจเรียกได้ว่ามันเป็นวันของพวกเราทุกๆ คนที่เป็นแรงงาน เราอาจจะเกิดคำถามขึ้นมาว่า “ฉันไม่ได้แบกอิฐแบกปูน ฉันทำงานอยู่หน้าคอมพิวเตอร์ ฉันจะเป็นชนชั้นแรงงานได้ยังไง?”

จับม็อบก็ไม่ใช่ รอเลือกตั้งก็ไม่โดน เราควรทำยังไงกันดี? 

จับม็อบก็ไม่ใช่ รอเลือกตั้งก็ไม่โดน เราควรทำยังไงกันดี? 

ในปัจจุบันฝ่ายมวลชนฝั่งประชาธิปไตย มีความขัดแย้งกันจนเป็นปรากฏการณ์กึ่งด่า กึ่งดีเบท กันในโลกออนไลน์ในประเด็นที่ว่า “อะไรเป็นสิ่งที่เราควรจะทำในตอนนี้?” สืบเนื่องมาจากกระแสการทำม็อบที่ซบเซาลง แม้จะจัดการเดินขบวน ตั้งเวที ชูป้าย ศิลปะแสดงสดหรือ performance arts ฯลฯ แต่ผลที่ตามมา เหล่าแกนนำกลับโดนจับ มีคดีติดตัวกันมากมาย ทางคฝ. เองก็ยังสามารถเบิกงบประมาณมาปราบม็อบได้ตลอดทั้งปีไม่มีหมด สามารถสลับทั้งตำรวจและทหารมาปราบปรามได้ เหตุการณ์นี้พิสูจน์แล้วว่าม็อบที่ไม่มีเส้น เหมือน ม็อบพันธมิตร กปปส. ไม่มีกองทัพ ไม่มีกลไกรัฐ ไม่มีวังหนุนหลัง ชุมนุมให้ตายยังไงก็โค่นรัฐบาลไม่ได้ แถมโดนสลายได้ง่ายเหมือนแกะถุงขนมอีก

A Short History of LAWAN – Malaysia

A Short History of LAWAN – Malaysia

The Lawan (to fight or oppose) Protests will be remembered by many in Malaysia as a critical voice of dissent during this tumultuous period of our history. Its capacity to mobilise and execute so many actions in such a short period of time is certainly remarkable. More so, is the engagement and participation that was engendered from outside activist circles. Its demobilisation and possible demise should also be understood from the perspective of wider failures within progressive and left movements. 

ACAB การผูกขาดความรุนแรง และอำนาจรัฐ

ACAB การผูกขาดความรุนแรง และอำนาจรัฐ

“All Cops are Bastards (ตำรวจทุกคนเป็นคนเลว)” หรือคำย่อ ACAB เป็นวลีติดหูในภาษาอังกฤษที่ทั่วทุกมุมโลกใช้ประณามความรุนแรงจากตำรวจ อย่างไรก็ดี วลีดังกล่าวเป็นมากกว่าแค่วลีที่ติดหูเท่านั้น เพราะมันยังมีที่มาที่ลึกซึ้ง ซึ่งเกี่ยวโยงไปถึงอำนาจของรัฐที่เป็นสถาบัน ความรุนแรง และความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ ทุน และกรรมสิทธิ์เอกชน ในการทำความเข้าใจบทบาทที่ แท้จริง ของ ตำรวจ และเหตุผลที่ทำให้ พวกเขาทุกคนเป็นคนเลว เราต้องสำรวจบทบาทของรัฐภายใต้ระบบทุนนิยม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อมันเกี่ยวข้องกับความรุนแรงและกรรมสิทธิ์เอกชน

ความท้าทายของเพลงการเมืองไทยในปัจจุบัน

ความท้าทายของเพลงการเมืองไทยในปัจจุบัน

“มาร่วมกันดันกงล้อประวัติศาสตร์ สู่เอกราชจริงแท้และสดใส จับอาวุธถั่งโถมโหมแรงไฟ เพื่อก้าวไกลแห่งสังคมอุดมการณ์“ บทเพลงนี้คงเป็นที่คุ้นหูคุ้นตาสหายหลายๆคน สำหรับผมแล้ว ถ้าหากว่ามีการจัดอันดับบทเพลงเพื่อชีวิตไทยที่มีเนื้อหาออกซ้ายอย่างชัดเจนที่สุด 5 อันดับ ผมว่าเพลงนี้จะต้องปรากฏในลิสต์อย่างแน่นอน นอกจากนี้ที่มาของเพลงก็ยังคงความขลังเนื่องจากแต่งขึ้นใน ซอกเขาอันลึกลับในเขตการตั้งค่ายของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย หลังเหตุการณ์ 6 ตุลาฯเกิดขึ้นได้ไม่นาน โดยมีแรงบันดาลใจจากภาพยนตร์เกี่ยวกับการปฏิวัติยูโกสลาเวีย

พระปฏิวัติชาวไอริชในพม่า

พระปฏิวัติชาวไอริชในพม่า

อนาคตที่ถูกหลงลืมของสากลนิยมต้านอาณานิคม : เรื่องราวสุดพิศวงของนักเคลื่อนไหวชาวพุทธเชื้อสายไอริช ผู้ต่อต้านอาณานิคมในยุคที่จักรวรรดิรุ่งเรืองในเอเชีย เผยให้เห็นธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงของสังคมอย่างขุดรากถอนโคน ซึ่งไม่ได้เกิดขึ้นอย่างเป็นเส้นตรง

กระ ”ทำ” การเป็นตัวแทน

กระ ”ทำ” การเป็นตัวแทน

ความจริงแล้วเราแต่ละคนมีอำนาจอยู่ในมือเพียงกระจ้อยร่อย ไม่มีอภิสิทธิ์อำนาจบันดาลความเปลี่ยนแปลงแม้แต่สภาพความเป็นอยู่ ณ ตรงหน้า เราต้องเรียนรู้ และค้นหาความเป็นไปได้ใหม่ ๆ โดยอำนาจเท่านี้ที่มีอยู่ เป็นหนทางเดียวที่มันจะมีพลังมากขึ้น สร้างการเป็นตัวแทนแต่ไม่ใช่อย่างโดดเดี่ยว คุณยังมีเพื่อน เพื่อนบ้าน เพื่อนร่วมงาน สหายร่วมอุดมการณ์ ไปอย่างทีละลำดับขั้นคุณจึงสามารถผนึกกำลังของคุณและของพวกเราเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงได้ และ “ลงมือทำ” ให้มากขึ้นได้

In Remembrance of Kru Krong Chandavong

In Remembrance of Kru Krong Chandavong

May is our month of memory. Beginning with International Workers’ Day, it marches past several anniversaries—the gunning down of Jit Phumisak on the 5th, the Rajprasong crackdown on Red Shirt protesters in mid-May, the 2014 coup on the 22th—only to end with the anniversary of the execution of schoolteacher-turned-politician Krong Chandavong in 1961 on the orders of Field Marshal Sarit Thanarat. Here, a poetic ode to Chandavong is translated on the anniversary of his death.

การยึดครั้งนี้เป็นไปเพื่อการปลดปล่อย: ว่าด้วยการกระทำอันหาญกล้าของกองหน้าศิลปินมช.

การยึดครั้งนี้เป็นไปเพื่อการปลดปล่อย: ว่าด้วยการกระทำอันหาญกล้าของกองหน้าศิลปินมช.

กลางเดือนตุลาคมอันมืดมิดที่หวนกลับมาอีกครั้ง นักศึกษาและศิลปินผู้ทำการผลิตงานสร้างสรรค์ได้ทำลายโซ่ตรวนของอำมาตย์ศักดินาหน้าประตูหอศิลป์มช.ลงเสียสิ้น ผู้ก่อการกว่าร้อยชีวิตบุกเข้ายึดอาคารที่อ้างว่าเป็นของมช. แต่น่าเสียดาย มันไม่เคยเป็นของประชาคมชาวมช.เลยสักเสี้ยววินาที…

โปรดอยู่ร่วมกันอย่างห่วงใย: การสร้างความเอาใจใส่และความยั่งยืนในกลุ่มแอคทิวิสท์

โปรดอยู่ร่วมกันอย่างห่วงใย: การสร้างความเอาใจใส่และความยั่งยืนในกลุ่มแอคทิวิสท์

อะไรทำให้พวกเราหมดไฟกับการทำกิจกรรมหรือการเคลื่อนไหว คุณมีความอึดอัดใจในการสื่อสารกับสมาชิกคนอื่นๆ หรือไม่ รู้สึกไหมว่าตนเองไม่ถูกให้ความสำคัญหรือถูกกีดกันออกไป และใครมีโอกาสที่จะครองอำนาจหรือทุนทางสังคมมากที่สุดในกลุ่ม บทความนี้จะช่วยทำให้เราเห็นถึงพลวัตของขบวนการเคลื่อนไหวที่มักจะบอกว่า “ปราศจากลำดับชั้น” ในกลุ่ม แต่แท้จริงแล้วกลับซุกซ่อนไปด้วยอำนาจที่มองไม่เห็นแต่ส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อสมาชิกกลุ่ม แล้วนักเคลื่อนไหวจะดูแลกันและกันอย่างไรดี ภายใต้การกดขี่ในสังคมทุนนิยมที่กดดันให้เราต้องทำงานและทำงาน โดยที่ไม่เคยรู้สึกว่าตนเองดีพอ

ไรเดอร์ทุกแห่งหนจงรวมตัวกัน: บทสัมภาษณ์สหายจากสหภาพไรเดอร์

ไรเดอร์ทุกแห่งหนจงรวมตัวกัน: บทสัมภาษณ์สหายจากสหภาพไรเดอร์

บทสัมภาษณ์ตัวแทนสหภาพไรเดอร์ กลุ่มคนที่ลุกขึ้นมาเรียกร้องความเป็นธรรมจากระบบทุนนิยม ที่ทำให้ความรับผิดชอบตกเป็นของคนทำงาน ไร้ซึ่งสวัสดิการและความมั่นคง ไม่ต่างอะไรจากการเป็นทาส พวกเขาเริ่มต้นก่อตั้งสหภาพได้อย่างไร ผมตอบรับเป็นแบบไหน และพวกเขามีเป้าหมายในอนาคตอย่างไร ติดตามได้ในบทสัมภาษณ์นี้

Thalugaz Interview

Thalugaz Interview

For the past few weeks, there have been constant violent protests in the Din Daeng neighbourhood of Bangkok. Din Daeng is an extremely deprived area of the capital, particularly after strict lockdowns in the latest wave of the Covid pandemic were implemented with virtually no economic assistance. Since mid-august, predominantly young people have been fighting the police with improvised weapons like fireworks, small homemade bombs, slingshots and Molotov cocktails.

คอมมิวนิสม์อันมีชีวิตจากสำนึกของรากหญ้า (Abahlali baseMjondolo)

คอมมิวนิสม์อันมีชีวิตจากสำนึกของรากหญ้า (Abahlali baseMjondolo)

บทความที่ 8 ในซีรีย์ขบวนการเคลื่อนไหวทั่วโลก Abahlali baseMjondolo คือขบวนการรากหญ้าในแอฟริกาใต้ที่มุ่งสร้างสังคมการเมืองของคนจน เน้นการกระจายศูนย์อำนาจ การตัดสินใจร่วมกัน ปัญหาที่อยู่อาศัยและที่ดิน และคงความเป็นอิสระไม่พึ่งพาองค์กรอำนาจใดๆ พวกเขาต้องการสร้างการเมืองที่ทุกคนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง การเมืองที่เรียกว่า “คอมมิวนิสม์ที่มีชีวิต”

สากลนิยมของเหล่าสตรีเพื่อการต่อต้านปิตาธิปไตยระดับโลก

สากลนิยมของเหล่าสตรีเพื่อการต่อต้านปิตาธิปไตยระดับโลก

บทความนี้โฟกัสไปที่การมองปัญหาเรื่องปิตาธิปไตยระดับโลกที่ถูกผสานเข้ากับระบบทุนนิยมและการเมืองอัตลักษณ์ เรากำลังอยู่ในยุคของการเคลื่อนไหวสตรีนิยมแนวแม่ประนอม (ประนีประนอมกับทุนนิยม) และแน่นอนว่านั่นไม่นำไปสู่อะไร
ในขณะเดียวกัน ฝ่ายซ้ายบางกลุ่มเองก็มีปัญหาเพราะไม่ค่อยจะมองเห็นความสำคัญของการปลดปล่อยผู้หญิงสักเท่าไหร่ หรือไม่ก็ลดลำดับความสำคัญลง “รอปฏิวัติเสร็จก่อนแล้วค่อยมาว่าเรื่องผู้หญิงนะ” เราจะทำอย่างไรในสภาวะที่ทุกฝ่ายหันหลังให้กับสตรีผู้ถูกกดขี่

Are protests in Thailand a colour revolution? No

Are protests in Thailand a colour revolution? No

Every time I find a new leftist media outlet I always type Thailand in the search bar to see if there’s been any coverage. More often than not, there’s nothing, but on the rare occasion that Thailand does appear, it’s typically an article denouncing the Thai protest movement at large as a ‘colour revolution’. Often this claim is made with little to no explanation as to what a ‘colour revolution’ is in the opinion of the writers.

การยืนหยัดต่อต้านเหมืองถ่านหินของชาวอะบอริจินในออสเตรเลีย

การยืนหยัดต่อต้านเหมืองถ่านหินของชาวอะบอริจินในออสเตรเลีย

การต่อต้านเหมืองถ่านหินของบริษัทอดานีคือการต่อสู้เพื่อทวงคืนเแผ่นดินของเหล่าชนพื้นเมืองอย่างอะบอริจินเผ่าวันกัน (Aboriginal Wangan) และจากาลิงกู (Jagalingou) แม้จะเจอกับอุปสรรคมากมายจากทั้งนักการเมือง ชั้นศาล และกฎหมายที่ไม่เป็นธรรม แต่กลยุทธ์ของพวกเขาใช้ในการต่อต้านนั้นสอนให้เรารู้ว่า สายใยอันลึกซึ้งของพวกเขาที่มีต่อผืนแผ่นดิน รวมถึงวัฒนธรรมชนพื้นเมืองนั้นมีพลังในการขับเคลื่นเพื่อทวงถามสิทธิ์ในผืนดินของพวกเขากลับคืนมาจากนักแสวงหากำไรที่ไม่ไยดีต่อธรรมชาติและโลกใบนี้

มารู้จักกับ EZLN: ขบวนการการต่อสู้ของชนพื้นเมืองเม็กซิโก

มารู้จักกับ EZLN: ขบวนการการต่อสู้ของชนพื้นเมืองเม็กซิโก

รู้จักกับซาปาติสตา (EZLN) ขบวนการเคลื่อนไหวชนพื้นเมืองเม็กซิโก ที่ดำเนินการต่อสู้กับรัฐเม็กซิกันอย่างต่อเนื่องเพื่อที่จะรักษาไว้ซึ่งอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของพวกเขา แต่ EZLN ไม่ใช่ขบวนการชนพื้นเมืองชาตินิยมแบ่งแยกดินแดนหรือขบวนการต่อสู้เพื่อความเป็นเอกราชแต่อย่างใด กล่าวคือพวกเขาไม่ได้จองจำตัวตนของเขาเองไว้ในอุดมการณ์แค่แบบเดียว

Covid & Riders Union Protests – FreeYouth Interview

Covid & Riders Union Protests – FreeYouth Interview

Din Deng spoke to Baimai, a lead organiser from the FreeYouth protest group, which was one of the main forces behind the nationwide protests on July 18th. We talked about how the recent Covid outbreak has affected protesting and the new presence of workers unions in the democracy movement. 

การเรียกร้องตั้งสหภาพแรงงานระดับชาติของพนักงานส่งอาหารในไต้หวัน

การเรียกร้องตั้งสหภาพแรงงานระดับชาติของพนักงานส่งอาหารในไต้หวัน

เบื้องหลังความสะดวกสบายของผู้บริโภคและ “ดิจิทัลโซลูชัน” ของแอพพลิเคชันสั่งอาหารแบบเดลิเวอรี่นั้นซุกซ่อนไว้ซึ่งคนงานนับหมื่นที่ต้องทำงานอย่างหนักและได้ค่าแรงต่ำกว่ามาตรฐาน ขบวนการแรงงานในไต้หวันที่เติบโตขึ้นเรื่อยๆ กำลังผลักดันให้เกิดสหภาพแรงงานระดับชาติ

ความรุนแรงของตำรวจ : วิธีการที่ผู้ประท้วงทั่วโลกใช้ต่อต้านความรุนแรงที่มาจากรัฐ

ความรุนแรงของตำรวจ : วิธีการที่ผู้ประท้วงทั่วโลกใช้ต่อต้านความรุนแรงที่มาจากรัฐ

กองกำลังตำรวจทั่วโลกมีกลวิธีในการจัดการควบคุมการประท้วงที่พวกเขาใช้ร่วมกัน และผู้ประท้วงก็ควรมีกลวิธีในการป้องกันตัวเองเช่นเดียวกัน บทความชิ้นนี้พาสำรวจขบวนการเคลื่อนไหวประท้วงอันแตกต่างหลากหลายและวิธีการที่พวกเขาใช้ในการรับมือความรุนแรงของตำรวจ พร้อมเคล็ดลับแบบต่าง ๆ ที่ผู้มีส่วนร่วมในการประท้วงนิยมใช้กัน

รจาวา ถอดความจากการสัมภาษณ์ผู้อาศัย ณ แดนดินถิ่นในฝันของใครหลายคน

รจาวา ถอดความจากการสัมภาษณ์ผู้อาศัย ณ แดนดินถิ่นในฝันของใครหลายคน

หลายคนคงประทับใจโรจาวา จากที่ได้อ่านในบทความของเราหรือได้ดูจากคลิปวีดีโอของพูดไปแล้ว ครั้งนี้ทาง #Dindeng จึงพาเราเข้าใกล้แดนดินถิ่นนั้นมากขึ้นไปอีก ด้วยการสัมภาษณ์สายตรงไปถึงอาสาสมัครที่ตั้งใจจะอยู่ที่นั่นตลอดชีวิต (เขาใช้ชีวิตอยู่ที่นั่นเป็นเวลากว่าปีนึงแล้ว) เราได้จัดตั้งการประชุมสายจากมหาอาณาจักรล้านนาและเมืองเล็กๆ ในยุโรป ไปถึงใจกลางสหพันธ์ประชาธิปไตยโรจาวา ภายใต้สัญญาณอินเตอร์เน็ตที่ฝากฝั่งหนึ่งต้องเสียเงิน กับอีกที่หนึ่งใช้การได้ฟรี …

The Uprising & The Rohingya

The Uprising & The Rohingya

An examination of the implications of the mass uprising and Civil Disobedience Movement in Burma/Myanmar on the much maligned Rohingya people (many of whom are joining the campaign against the military government, standing in solidarity with the protesters).

ค่าแรงสำหรับนักเรียน

ค่าแรงสำหรับนักเรียน

นักเศรษฐศาสตร์ส่วนมากลงความเห็นว่า “งานในโรงเรียนเป็นทั้งการบริโภคและการลงทุน” ดังนั้น คำตอบของพวกเขาต่อคำถามว่าทำไมต้องเป็นงานในโรงเรียนคือ การเล่าเรียนที่คุณได้รับนั้นมอบสิ่งที่ดีให้แก่คุณ ไม่เฉพาะแค่ว่าคุณกำลังลงทุนให้กับตัวเองซึ่งสามารถคาดว่าคุณจะได้รับงานที่ให้ค่าแรงสูงในอนาคต แต่ยังเป็นเพราะว่าการเล่าเรียนนั้นสนุก พวกเราสามารถคิดเรื่องนี้ยังจริงจังได้หรือไม่

สนทนากับสหายในพม่า ว่าด้วยทิศทางการประท้วงรัฐบาลทหาร

สนทนากับสหายในพม่า ว่าด้วยทิศทางการประท้วงรัฐบาลทหาร

รัฐประหารที่พม่าเมื่อเดือนกุมภาพันธ์นั้นตามมาด้วยการชุมนุมประท้วงจากประชาชนที่ไม่ยอมจำนน พวกเขาถูกรัฐทหารใช้ความรุนแรงเพื่อปราบปราม บ้างบาดเจ็บ บ้างถูกจับกุม และเลวร้ายที่สุดคือเสียชีวิต นี่คือการต่อสู้ที่ไม่อาจจบสิ้นได้โดยง่าย เหล่าผู้ชุมนุมและแกนนำจำต้องค้นหายุทธวิธีในการต่อต้านขัดขืน เพื่อนำเอาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และชีวิตที่เป็นอิสระกลับคืนมา บทสัมภาษณ์สั้นๆ ชิ้นนี้จะช่วยให้เราเข้าใจทิศทางของสหายในพม่าต่อการประท้วงที่กำลังเกิดขึ้น

February Revolution Burma & The Road Forward

February Revolution Burma & The Road Forward

A protest organiser in Burma reflects on the current crisis following the February 1st coup. Examining the road that led there, the state of Burma’s “Military Bureaucratic Capitalist System” and the future of the movement.

Sindhiyani Tehreek: สตรีนิยมปฏิวัติใน Sindh?

Sindhiyani Tehreek: สตรีนิยมปฏิวัติใน Sindh?

ภายใต้สังคมศักดินาและปิตาธิปไตยที่ชายเป็นใหญ่ครองเมือง ที่ที่เกียรติยศยังคงได้มาจากการสังหารฆ่าฟัน ที่ที่อัตราการอ่านออกเขียนได้ในแถบชนบทนั้นแทบไม่ถึงหนึ่งในสี่ ความรุนแรงในครอบครัวไม่แม้แต่จะถูกจดจารลงบันทึกประจำวัน  แล้วหญิงสาวชาวชนบทเหล่านี้สามารถนำการต่อต้านขัดขืนระบอบเผด็จการอันป่าเถื่อนที่สุดของปากีสถานได้อย่างไร?  สิ่งไหนจะเป็นบทเรียนให้กับขบวนการสตรีนิยมปากีสถานที่ลุกขึ้นมาสู้ในสมัยนี้ได้บ้าง?  ที่จริงแล้ว เราสามารถเรียก Sindhiyani Tehreek ว่า ‘สตรีนิยม’ ได้หรือไม่?  นี่คือบางคำถามที่ผมหวังจะหาคำตอบให้ได้

นิเวศวิทยาแห่งการปลดแอก: ขบวนการ Mukti Bahini, แม่น้ำ และการคลี่คลายตัวของปัญหาปากีสถาน

นิเวศวิทยาแห่งการปลดแอก: ขบวนการ Mukti Bahini, แม่น้ำ และการคลี่คลายตัวของปัญหาปากีสถาน

เรื่องเล่ากระแสหลักเกี่ยวกับสงครามปี 1971 แทบไม่ให้ความสนใจบทบาทของนิเวศวิทยาและความรู้เหล่านี้ของชาวนาในการสร้างชาติบังคลาเทศเลย ชาวนาใช้ยุทธภูมินิเวศวิทยา (ecological landscape) ที่พวกเขารู้และรักเป็นหัวใจสำคัญในการต่อสู้เพื่อการปลดแอก ความรู้กระแสรองของชาวนาสามัญนี่แหละที่ช่วยปลดปล่อยบังคลาเทศ มากว่าความรู้ของชนชั้นนำหรือพวกกระฎุมพีเสียอีก

ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ฉบับกะทัดรัด

ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ฉบับกะทัดรัด

ระหว่างที่พำนักอาศัยอยู่ ณ ประเทศไทยเป็นเวลาหลายปี ผมเผชิญกับสถานการณ์ที่จำเป็นต้องอธิบายเรื่องศาสนายูดาย (Judaism) อยู่บ่อยครั้ง  ทั้งผมและภรรยาที่ไม่ได้นับถือศาสนาใดๆ ด้วยกันทั้งคู่ ต่างเติบโตมาในครอบครัวชาวยิว  ไม่แปลกเลยที่ปกติแล้วเราจะเจอกับชาวไทยที่พูดกับเราว่า ‘โอ้คุณเป็นยิวหรอ อิสราเอลใช่ไหม เป็นประเทศที่ดีนะ…’ แล้วพวกเขาก็ต้องประหลาดใจที่เราพยายามจะอธิบายว่าเราไม่ชอบอิสราเอลและจุดยืนทุกสิ่งอย่างของประเทศนั้นอย่างไรบ้าง…

สีน้ำเงินปะทะสีกากี เจ้าหน้าที่รัฐกับความไม่เดียงสา

สีน้ำเงินปะทะสีกากี เจ้าหน้าที่รัฐกับความไม่เดียงสา

ข่าวเด่นประเด็นร้อนวันนี้ คงหลีกไม่พ้นกรณีเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้แสนอ่อนแอ ถูกสาดสีน้ำเงินเปรอะเปื้อนชุดสีกากีพระราชทานไปเสียมิได้ เราทุกคนต่างรู้ดีไม่ใช่หรือว่าคุณเจ้าหน้าที่ตำรวจเหล่านี้ก็เป็นมนุษย์เหมือนเรา มีลูกมีหลาน มีครอบครัว ต้องรับใช้นายตามคำสั่ง ปฏิบัติตามกฏหมายอย่างเคร่งครัด แล้วเหตุใดเล่า ความโกรธแค้นที่กระทำไปในนามของศิลปะ จึงต้องไปทำร้าย ทำลาย ชุดพระราชทานเหล่านั้นด้วย?

ชูสามนิ้วไม่ผิดกฎหมาย แต่ครูทำร้ายนักเรียนมีความชอบธรรม: โรงเรียนไทยกับความผิดที่อยู่เหนือกฎเกณฑ์

ชูสามนิ้วไม่ผิดกฎหมาย แต่ครูทำร้ายนักเรียนมีความชอบธรรม: โรงเรียนไทยกับความผิดที่อยู่เหนือกฎเกณฑ์

สังคมอุดมอำนาจนั้นให้ความชอบธรรมแก่ครูในการลงทัณฑ์โดยวิธีใดก็ได้โดยไม่คำนึงถึงกฎระเบียบ เช่น การตัดผมนักเรียนทั้งชายและหญิงเมื่อพบว่าทรงผมของพวกเขาผิดระเบียบ อันที่จริงกฎระเบียบว่าด้วยทรงผมก็เปลี่ยนมานานแล้ว แต่บังเอิญว่าตัวกฎระเบียบเองก็ไม่ถูกต้องตาม ‘ลักษณะในอุดมคติ’ ครูจึงสามารถลงโทษนักเรียนได้ตามที่พวกเขาเห็นว่าเหมาะสม ไม่มีใครเอาผิดครูที่ตัดผมนักเรียนได้ แม้ว่าจะเป็นการกระทำที่ขัดต่อกฎระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการก็ตาม

2020: Remedying Thailand’s Democracy 

2020: Remedying Thailand’s Democracy 

Examining how further action, a more holistic approach and a deeper understanding and appreciation of Thailand’s previous challenges to the state could aide the burgeoning protest movement within the kingdom, written by Samaideng Tungdin.

บทวิพากษ์ว่าด้วยประชาธิปไตยปากว่าตาขยิบ และบริษัทที่ชื่อว่ามหาวิทยาลัย

บทวิพากษ์ว่าด้วยประชาธิปไตยปากว่าตาขยิบ และบริษัทที่ชื่อว่ามหาวิทยาลัย

สิ่งที่คณาจารย์ นักการเมืองและผู้บริหารมหาวิทยาลัยพึงกระทำก็คือ ต้องยืนยันในสิทธิ ดังกล่าวของนักศึกษาด้วยการออกมาปกป้องพวกเขา โอบอุ้มพวกเขา สนับสนุนพวกเขาและถึงที่สุดแล้วคือเข้าร่วมกับพวกเขา มิใช่การผลักไสและตัดช่องน้อยแต่พอตัว

Solidarity with Kaboedin, Halt the Om Koi Coal Mine!

Solidarity with Kaboedin, Halt the Om Koi Coal Mine!

In the hills of Chiang Mai province a battle is being fought between locals and the government over a proposed coal mine, which will devastate the local community. We explore the issue and the response, examining  the state of activism within Thailand. 

นักศึกษาทั้งหลาย บัดนี้จงเชื่อฟังแต่น้อย และต่อต้านให้มาก!

นักศึกษาทั้งหลาย บัดนี้จงเชื่อฟังแต่น้อย และต่อต้านให้มาก!

ในห้วงวิกฤตโรคระบาดโควิด-19 ได้เกิดการต่อสู้ขึ้นในแทบทุกส่วนของสังคมไม่เว้นแม้แต่สถาบันที่เรียกว่ามหาวิทยาลัย เมื่อประจักษ์ต่อผลกระทบอันหนักหน่วงทางเศรษฐกิจที่เกิดแก่ผู้ปกครอง บรรดานักศึกษาจำนวนหนึ่งก็เริ่มรณรงค์เพื่อเรียกร้องมาตรการช่วยเหลือจากมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบของการลดค่าธรรมเนียมการศึกษา คืนค่าเทอม ทุนการศึกษา การผ่อนผัน ฯลฯ

คนในกับการต่อต้านมหาวิทยาลัย

คนในกับการต่อต้านมหาวิทยาลัย

Peam Pooyongyut จากการประท้วงหนัดหยุดงาน การเข้ายึดพื้นที่ และการปราบปรามอย่างรุนแรงที่ผ่านมาไม่นาน มหาวิทยาลัยกำลังกลายเป็นสนามรบ แล้วสิ่งนี้มีความหมายอย่างไรกับนักศึกษาและคนที่ทำงานอยู่ในนั้น? *หมายเหตุผู้แปล: บทความนี้ใช้บริบทมหาวิทยาลัยในประเทศอังกฤษ...