To Stop Smog Pollution: Empower the Farmers

To Stop Smog Pollution: Empower the Farmers

During the past two decades, the north of Thailand has been turned into a corn factory farm, pouring toxic smog into the sky. Government, business and environmental groups offer few solutions. The only way to free us from this poison cloud is to empower farmers, to give them more autonomy and bargaining power against monopolies in the agricultural industry. 

เราต้องทวงคืนอำนาจชาวนา ถ้าอยากแก้ปัญหาฝุ่นควัน

เราต้องทวงคืนอำนาจชาวนา ถ้าอยากแก้ปัญหาฝุ่นควัน

เป็นเวลากว่า 2 ทศวรรษที่ภาคเหนือของประเทศไทยถูกเปลี่ยนเป็นโรงงานไร่ข้าวโพด จนทำให้เผชิญกับควันพิษที่ถูกปล่อยออกมาท่วมท้องฟ้า ในทางกลับกัน ภาครัฐ ภาคธุรกิจ และองค์กรด้านสิ่งแวดล้อมกลับเสนอทางออกเพียงน้อยนิด หนทางเดียวที่จะแก้ปัญหาหมอกควันนี้ได้ คือการทวงคืนอำนาจของเกษตรกร เพื่อเพิ่มอำนาจการปกครองตนเอง และอำนาจต่อรองของเกษตรกรที่มีต่อทุนผูกขาดในอุตสาหกรรมการเกษตรให้มากขึ้น

อภิสิทธิ์ชนแรงงานและผู้ทรยศชนชั้น

อภิสิทธิ์ชนแรงงานและผู้ทรยศชนชั้น

ในขณะที่กรรมาชีพทั่วโลกถูกระบบทุนนิยมกดขี่ขูดรีด ทว่าก็มีบางคนที่ถูกขูดรีดมากกว่าคนอื่น กรรมาชีพบางคนมีชีวิตที่สุขสบายโดยมาจากการขูดรีดคนงานคนอื่น นี่นำไปสู่แนวคิด อภิสิทธิ์ชนแรงงาน (Labour Aristocracy) หรือ ชนชั้นแรงงานอภิสิทธิ์ชน (Working Class Aristocracy) ซึ่งสามารถนำไปใช้ดูได้ทั้งสถานทำงานระดับท้องที่และระดับโลก เพื่อวิเคราะห์โครงสร้างชนชั้นให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้นกว่าเก่า

การบริโภคอย่างมีจริยธรรม

การบริโภคอย่างมีจริยธรรม

ไม่มีการบริโภคที่เปี่ยมจริยธรรมภายใต้ระบบทุนนิยม โวหารที่ตรงไปตรงมาดังกล่าวมักจะถูกฝ่ายซ้ายนำมาใช้สร้างความชอบธรรมให้กับการมีส่วนร่วมในโครงสร้างทางสังคมที่โหดร้ายและอยุติธรรม โวหารดังกล่าวโดยแท้แล้วมีความหมายว่า คุณไม่สามารถซื้อหรือบริโภคสิ่งใดได้อย่างมีจริยธรรมในสังคมทุนนิยม เป็นโวหารที่สามารถนำมาต่อยอด วิเคราะห์ และนำไปปรับใช้ได้กับทุกภาคส่วนของเศรษฐกิจ แรงงาน และรัฐบาล เพื่อช่วยให้เข้าใจถึงความอยุติธรรมที่เราทุกคนต่างก็มีส่วนอยู่ทุก ๆ วัน

กรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล

กรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล

การทำความเข้าใจแนวคิดของ “กรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล” (Private Property) มีความสำคัญอย่างมากในการทำความเข้าใจเพื่อก้าวข้าม “ทุนนิยม” เนื่องจากแก่นสารของทุนนิยมนั้นผูกติดอยู่กับแนวคิดของกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล จะเห็นได้ว่า “ชนชั้นผู้เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์” (นายทุน) ล้วนใช้ชีวิตอยู่ได้โดยรายได้จากการทำงานของชนชั้นแรงงาน เพียงเพราะนายทุนเหล่านี้มี “ความเป็นเจ้าของในกรรมสิทธิ์”

เศรษฐศาสตร์มาร์กซิสต์เบื้องต้น

เศรษฐศาสตร์มาร์กซิสต์เบื้องต้น

มาร์กซิสม์ไม่ได้เป็นแค่การเรียกร้องให้มีการปฏิวัติคอมมิวนิสต์ แต่มันเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ด้วย เมื่อเราวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์ผ่านมุมมองมาร์กซิสต์เราก็จะเห็นได้ว่า กฎเกณฑ์ทางเศรษฐกิจอันเป็นพื้นฐานของระบบที่เราอาศัยอยู่นั้นเป็นโครงสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมแบบขูดรีด นี่คือจุดเริ่มต้นของเศรษฐศาสตร์มาร์กซิสต์ เป็นความสัมพันธ์ระหว่างสองชนชั้น นั่นก็คือ ชนชั้นกรรมาชีพ และชนชั้นกระฎุมพี

UBI ขั้นสูงสุดของจักรวรรดินิยม

UBI ขั้นสูงสุดของจักรวรรดินิยม

แนวคิด ‘รายได้พื้นฐานถ้วนหน้า’ (Universal Basic Income “UBI”) ออกแบบโดยนักเศรษฐศาสตร์ซีกโลกเหนือเพื่อประเทศในซีกโลกเหนือ เป็นแนวคิดที่ไม่สามารถนำไปใช้กับซีกโลกใต้ได้ หลักการของ UBI มีอยู่ว่า ผู้คนในซีกโลกเหนือจะได้รับเงินเพื่อนำไปใช้จ่ายบริโภค ในขณะที่คนงานในซีกโลกใต้ยังคงต้องประสบความยากลำบากในการผลิตสินค้าให้แก่ซีกโลกเหนืออยู่

UBI The Highest Stage of Imperialism

UBI The Highest Stage of Imperialism

The concept of Universal Basic Income was designed by global north economists for global north economies and cannot be applied to the global south. The principles of UBI mean that it pays people in the global north to consume while workers in the global south continue to suffer to produce the north’s commodities. 

อัตราการขูดรีด (ในกรณีของไอโฟน)

อัตราการขูดรีด (ในกรณีของไอโฟน)

ดูกลไกการทำงานของผลกำไรและการขูดรีด วิเคราะห์อัตราการขูดรีดที่เกิดขึ้นในการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ดังกล่าวผ่านมุมมองแบบมาร์กซิสต์ เราต้องรู้วิธีวัดอัตราการขูดรีดเพื่อให้ทราบอย่างแน่ชัดว่า คนงานส่งมอบความมั่งคั่งให้แก่สังคมทั้งหมดเท่าไรในแต่ละปี

ทำไมหนังสือว่าด้วยทุนของมาร์กซ์ยังคงสำคัญ

ทำไมหนังสือว่าด้วยทุนของมาร์กซ์ยังคงสำคัญ

“ผมพยายามไม่เลคเชอร์ว่าผู้คนควรคิดอะไร แต่พยายามจะสร้างกรอบของการคิดเพื่อให้พวกเขาเห็นภาพ ว่าตัวเองอยู่จุดไหนในองค์รวมของความสัมพันธ์อันซับซ้อนที่ก่อร่างขึ้นเป็นสังคมร่วมสมัยของเรานี้ จากนั้นพวกเขาจะสามารถสร้างแนวร่วมในประเด็นที่ตนเองสนใจ และในขณะเดียวกันก็สามารถระดมกำลังของเขาเองเพื่อช่วยเหลือคนอื่น ๆ ที่เป็นพันธมิตรกันได้”

รัฐอสังหาฯ: นายทุนจะเฟื่องฟูลอย คนรายได้น้อยจะถอยจม

รัฐอสังหาฯ: นายทุนจะเฟื่องฟูลอย คนรายได้น้อยจะถอยจม

ทุนนิยมและการวางผังเมืองของรัฐเป็นสองอำนาจที่มีความสัมพันธ์อันซับซ้อนซ่อนเงื่อน อุดมการณ์แบบทุนนิยมมักยืนกรานว่าระบบตลาดนั้นเป็นกลไกที่ดีที่สุดในการบริหารจัดการเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม และการเลือกของผู้บริโภคก็เป็นผู้ที่ขับเคลื่อนความต้องการของสาธารณะที่ยุติธรรมและมีประสิทธิภาพที่สุดเช่นกัน ดังนั้นแล้ว แนวทางการบริหารจัดการให้เป็นไปตามกลไกตลาด (Deregulation) จึงกลายเป็นคำโฆษณาที่สวยหรูของนักธุรกิจไปแล้วนับศตวรรษ…

No Sweat

No Sweat

In the late ’90s, the horrors of sweatshops became a focal point of concern in the global North. However, in the past two decades, they’ve faded from public attention. We spoke to No Sweat, a campaign to abolish sweatshops, about labour organising, campaigning, consumer culture and approaches to tackling the global North-South wealth divide. 

ประเทศยากจนพัฒนาประเทศร่ำรวยอย่างไรบ้าง

ประเทศยากจนพัฒนาประเทศร่ำรวยอย่างไรบ้าง

ความช่วยเหลือแบบถอยหลังเข้าคลอง : เราได้รับการบอกกล่าวมาโดยตลอดถึงเรื่องราวอันน่าสนใจนี้ นั่นคือ เรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่างประเทศร่ำรวยและประเทศยากจน เรื่องราวดังกล่าวมีอยู่ว่า ประเทศร่ำรวย ใจกว้างมอบความมั่งคั่งให้กับประเทศที่ยากจนกว่าในซีกโลกใต้ แต่นั่นก็เป็นอดีตไปแล้ว…

ถอนทุนการทำกำแพงภูมิอากาศรอบโลก

ถอนทุนการทำกำแพงภูมิอากาศรอบโลก

รายงานชิ้นใหม่ชี้ให้เห็นถึงการที่ผู้ปล่อยก๊าซเรือนกระจกรายใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ 7 รายของโลกทุ่มเงินไปกับชายแดนมากกว่าเงินทุนด้านสภาพภูมิอากาศถึงสองเท่า
การโต้ตอบสถานการณ์ดังกล่าวด้วยการเสริมกำลังชายแดนคือการสร้างหายนะดิสโทเปีย เช่นเดียวกับการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เราต้องลดกำแพงขวางกั้น โดรนสอดแนม และกล้องไฮเทค การทำเช่นนี้วิธีหนึ่งก็คือ ย้ายงบที่ทุ่มไปกับชายแดนและการบังคับใช้กฎหมายตรวจคนเข้าเมืองไปที่สู่การทุ่มงบด้านสภาพภูมิอากาศแทน

Proletarian Revolution In The Global North Is Impossible

Proletarian Revolution In The Global North Is Impossible

There is virtually no material production in the north, only service capital— debt and foreign holdings. The material existence of the northern proletariat is dependent on global south labour and continued material extraction. This raises the question of whether successful proletarian revolutions in the north are even remotely plausible.

คำถามคอมมิวนิสต์ 101

คำถามคอมมิวนิสต์ 101

รวมคำถามที่คนชอบถามเกี่ยวกับ ‘คอมมิวนิสต์’ ในเบื้องต้น รวบรวมจากบทสนทนาสหายพลัง
คำถาม : ทุนนิยม สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ แตกต่างกันยังไง

คำถาม : แล้วสังคมนิยมกับคอมมิวนิสต์ต่างกันยังไง?
คำถาม : นักสังคมนิยม นักมาร์กซิส นักคอมมิวนิสต์คืออะไร แตกต่างกันอย่างไร ?
คำถาม : คอมมิวนิสต์ชอบให้ผลิตทุกอย่างเอง หรือย้อนไปแบบสังคมบุพกาลไม่ใช่เหรอ?

การปฏิวัติชนชั้นกรรมาชีพในตะวันตกนั้นเป็นไปไม่ได้

การปฏิวัติชนชั้นกรรมาชีพในตะวันตกนั้นเป็นไปไม่ได้

ประเทศในซีกโลกเหนือแทบไม่มีการผลิตสินค้าที่เป็นวัตถุอยู่เลย มีเพียงเงินทุนในการจ้างเพื่องานบริการ หนี้ และการถือครองทรัพย์สินในต่างประเทศ การมีอยู่ของชนชั้นกรรมาชีพในซีกโลกเหนือนั้นวางรากฐานอยู่บนแรงงานในซีกโลกใต้ พร้อม ๆ ไปกับการรีดเค้นพวกเขาอย่างไม่หยุดยั้ง ก่อเกิดเป็นข้อสงสัยขึ้นมาว่า การปฏิวัติชนชั้นกรรมาชีพที่ประสบความสำเร็จในซีกโลกเหนือ สามารถสร้างเศรษฐกิจที่จะมาแทนที่กระฎุมพีระดับโลกในปัจจุบันได้หรือไม่ ?

เดวิด ฮาร์วีย์: จินตนาการถึงสังคมใหม่ที่ไม่ใช่ทุนนิยม 

เดวิด ฮาร์วีย์: จินตนาการถึงสังคมใหม่ที่ไม่ใช่ทุนนิยม 

การระบาดของไวรัสโคโรนาในปี 2019 กำลังเชื้อเชิญให้เราคิดและจินตนาการถึงความเปลี่ยนแปลง เดวิด ฮาร์วีย์ นักวิชาการมาร์กซิสต์ ใช้โอกาสนี้ในการอธิบายว่าเราสามารถใช้แนวคิดของ คาร์ล มาร์กซ์ มาทบทวนและอธิบายสภาวการณ์ในปัจจุบันได้อย่างไรบ้าง โดยเฉพาะเรื่องเสรีภาพของมนุษย์ภายใต้การปลดแอกจากระบบทุนนิยม

The Real Face of Thai Feudalism Today TLDR – Part I

The Real Face of Thai Feudalism Today TLDR – Part I

The purpose of the book was to expose how the plight of the rural Thai peasant in the 1950’s was a vestige rooted in the old feudal system, laying bare its horrors and its exploitative framework. Jit wrote this book as an antagonistic rebuttal against the revisionist history of the ruling classes taught to most Thai’s at the time (and still today), which typically depicts a utopian agrarian past, rather than the brutal exploitative reality. 

ค่าแรงสำหรับนักเรียน

ค่าแรงสำหรับนักเรียน

นักเศรษฐศาสตร์ส่วนมากลงความเห็นว่า “งานในโรงเรียนเป็นทั้งการบริโภคและการลงทุน” ดังนั้น คำตอบของพวกเขาต่อคำถามว่าทำไมต้องเป็นงานในโรงเรียนคือ การเล่าเรียนที่คุณได้รับนั้นมอบสิ่งที่ดีให้แก่คุณ ไม่เฉพาะแค่ว่าคุณกำลังลงทุนให้กับตัวเองซึ่งสามารถคาดว่าคุณจะได้รับงานที่ให้ค่าแรงสูงในอนาคต แต่ยังเป็นเพราะว่าการเล่าเรียนนั้นสนุก พวกเราสามารถคิดเรื่องนี้ยังจริงจังได้หรือไม่

ค่าแรงในฐานะการต่อต้านงานบ้าน

ค่าแรงในฐานะการต่อต้านงานบ้าน

พวกเขาพูดว่ามันคือความรัก แต่พวกเราจะบอกว่ามันคืองานที่ไร้ค่าแรง
ในหลายครั้ง ความยากลำบากและความสับสนที่บรรดาผู้หญิงแสดงออกมาระหว่างการถกเถียงเรื่องค่าแรงสำหรับงานบ้านเกิดขึ้นมาจากข้อเท็จจริงที่ว่าพวกเธอลดทอนค่าแรงให้กลายเป็นแค่เพียงสิ่งของ…