by DinDeng | May 15, 2023 | Articles บทความ, English, Understanding Thailand, ความคิดเห็น Opinion, ทฤษฎี Theory
Opinion by Kobfah Dum
Move Forward gaining the most votes in the latest election is a disaster for class-based politics in Thailand. This election has done precisely what the capitalist elite have dreamed of for decades; to push Thailand away from the class-conscious politics of the 2000s/2010s, and towards a politics of aesthetics. Finally, Thailand has a respectable party for the middle class, one capable of defeating the red shirts.
–
The very real divide of rural vs urban, while tiresome for many to continually relitigate, is still the primary antagonism in Thailand. Layered on top of this are those formerly rural people, who have moved to the urban centres for work, many of them spend decades in urban cores without being fully absorbed into them, for most, the dream is still to go back to their hometowns and live a dignified life. This issue is (or should be), at its core, class-based. Who can sell what labour where, and under which conditions?
For all their faults, Phue Thai offered an alternative to the current reality. Indeed, this antagonism is even recognised by the royalist military-backed parties. Many policies that were proposed by parties like Pallang Pracharat and Bhum Jai Thai clearly indicate that they understand this divide– though of course, they would never genuinely do anything to tackle it. Move Forward, however, diagnoses a completely different issue as the primary antagonism in the nation. For them, the corrupt old dinosaurs who run the military, government and monopolies are the issue. This, however, is about as deep as the critique goes. For Move Forward, the issue of rural vs urban, rich vs poor, is not a stand-alone antagonism, the structural issues that plague and underline this foundational class divide, are merely seen as greed, corruption and mismanagement– a critique entirely lacking in class consciousness.
Like all parties, Move Forward, has two demographics, those who vote for the party, and those who finance it. In the former, we can see an increasingly urbanised middle class, economically and socially similar to the Prachathipat* voters of the 2000s– adapted to the times– sans royalism. Move Forward voters see themselves as a new, educated, enlightened kind of demographic, informed enough to recognise the cheap tricks of the other parties– this should sound familiar to those who lived through the Prachathipat years. Of course, these voters would baulk at the idea that they were anything like Prachathipat, however, much of the foundational rhetoric of their critiques is nearly identical to that of the early yellow shirt movement. They hate corruption, mismanagement, and lying politicians who “fool” the poor into giving them their votes, be it Phue Thai or the military-backed parties. Both Move Forward and the old Prachathipat despise Thaksin and look patronisingly down on his naive “hoodwinked” voters.
*Prachathipat – The Democrat Party – The yellowshirt party responsible for the mass murder of redshirts.
Move Forward drew votes from both the left and right (both Phue Thai & military- backed parties) it offers a clean slate and a younger face for Thailand, as well as a vindication, that you are an educated, informed and erudite voter, that is tired of the military, the old generation of politicians and most elites.
Move Forward party members are not the working poor. While living conditions for the middle class have gradually gone downhill since Thaksin, the reality is that there is still that rural/urban divide. Rich and poor. University educated and not. Those with prospects and those without. Previously the urban and semi-urban middle class, who considered themselves informed areodite voters, were served by Prachathipat. However, Prachathipat’s own corruption and adherence to stringent royalism has caused support to completely collapse. They failed to defeat the red shirts and Thaksin on the election field, instead requiring the strong men of the military to come in and form their own party that truly embraced nationalist vitriol, though perhaps not civilised enough for the tastes of those refined urbanites.
The middle class, and those who aspire to join it, needed a new party. The devoted royalists moved to the military-backed parties. The western educated university academics, sick of the stifling atmosphere of the Thai academy under the military and the Western funded NGO’s and labour-aristocratic organisations coalesced to build a new home in the shape of European-style liberalism. Move Forward and its allies welcomed the less nationalist middle class, offering a cleaner concept of capitalism, one which promises a more dignified type of politics, one which ultimately does not challenge wealth distribution in the country, but makes voters feel better about it.
Realistically, Move Forward offer little more than those aesthetics and to understand why, we have to look at the other part of their demographic, their funders. The two previous leaders of the party are both semi-elite capitalists. The kind of capitalists who are born into wealth, educated abroad, own huge businesses, bust unions, exploit thousands of people, but are not in the ultra-elite. Their railing against monopolies is little more than positioning to gain votes and make space for their own micro class in the market. These capitalists are younger, hungrier, more charming, cleaner, more dignified. They look nothing like the dinosaur elites of the old generation, yet they functionally inhabit the same class demographic and class interests as their Prachathipat predecessors. The first incarnation of Move Forward Party, Future Forward Party, was disbanded by the courts in 2019. This is not because they were a threat to the structures of Thai society, but threatened to supplant one faction of capitalist elites with another.
The majority of the criticisms of Move Forward above could just as easily be hurled at Phue Thai– and they would be right. Another party run by capitalist elites, even during this election cycle they never strongly ruled out a coalition with the military-backed parties. The key difference, however, is that Phue Thai’s low-level members and loyal voters hold a degree of class consciousness that significantly changes the dynamics of the leadership. The genius of Thaksin was to ignite and most importantly deliver for the rural poor. This material-based politics is what won their devotion. Redshirts understand class consciousness, material politics and hold their leaders accountable when they don’t deliver. The long-standing deal of Phue Thai, and their preceding parties, as articulated and practised by Thaksin boiled down to: “Yes I am an elite, I know how the system works, vote for me and I will make it work for you too”, and for millions, despite all his faults, crimes and corruption, he did. Redshirts are not the ignorant buffalos the middle class makes them out to be. They know that the party is corrupt, they know that it serves the elite, but they also know it serves them too.
Both parties want greater social protections, Move Forward envisions this as a centralised European-style welfare state and to their credit formed a labour wing (though gave it little autonomy). This has been the closest they’ve come to talking about class-based policy. The way Move Forward describe it, it is as if Phue Thai (and its preceding parties) didn’t already build a welfare state. In the 2000s, Phue Thai built a localised responsive social infrastructure, the best example is the healthcare system that can be clearly seen in rural areas. However, it has been drastically underfunded by recent military governments, to the point where the middle class would rather go private than suffer the indignity of state institutions. Move Forward voters are unlikely to have experienced this kind of functioning social welfare either because they are centralised in urban areas, they’re too young to remember the system with sufficient funding or they can afford to avoid it.
Phue Thai voters support their party, not because they’re ignorant peasants fooled by Thaksin’s charm, but because they know that the party will deliver class-based results, as they have done countless times before. Phue Thai’s decentralised policies allow funding for local organising, around healthcare, education, employment and infrastructure, building class-based solidarity in real physical spaces. Ultimately, what Phue Thai offers is a long way from socialism, but it is a change in economic alignment, a form of wealth and power redistribution, decentralising Bangkok and other urban areas, in terms of both power and capital, reinvesting it in the outer provinces. Move Forward envisions a “cleaner” modern European style of capitalism, essentially the wealth distribution would remain the same, it would just aesthetically change, a corrupt ugly old man CEO would be replaced by a handsome young one who “plays by the rules”– it’s ok to be a billionaire and exploit people, so long as you play by the rules, like Move Forwards leadership. This is not a defacto full-hearted endorsement of Phue Thai and Thaksin. Indeed, we have been highly critical of Thaksin’s policies in this journal. It is, however, an uncomfortable recognition of the material and political conditions in Thailand today.
In the end, the new generation of the urban middle class, Move Forward Party, achieved what Prachathipat always dreamed of but never could actualise, to beat Phue Thai in an election. Now Phue Thai are at a juncture, they must either reform and outflank Move Forward further to the left, discard their dogmatic adherence to the Thaksin name and update their social policy to recognise the values of the new generation, or fade into obscurity like their old Prachathipat rivals.
Move Forward are set to take Phue Thai’s place in the coup-election cycle that has plagued Thailand for nearly a century, though without the redshirt aunties and uncles from the upcountry who fought and died so bravely for so many years.
What we have seen in Move Forwards’s success is voters’ repudiation of the importance of class conditions. Phue Thai embodies uncomfortable pragmatism one that the middle class would rather overlook, while Move Forward embody nothing more than a smug comfortable idealism.
by DinDeng | May 5, 2023 | Articles บทความ, Featured ไทย, การประท้วง Protest, ประวัติศาสตร์ History, ไทย
โดย MULTITUDE
ในวันแรงงานสากล 1 พฤษภาคม หรือ International Workers’ Day ที่นิยมเรียกติดปากกันว่าวัน “May Day” เป็นวันที่มีประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนาน เป็นวันแห่งการเฉลิมฉลองของ “ชนชั้นแรงงาน” อาจเรียกได้ว่ามันเป็นวันของพวกเราทุกๆ คนที่เป็นแรงงาน เราอาจจะเกิดคำถามขึ้นมาว่า “ฉันไม่ได้แบกอิฐแบกปูน ฉันทำงานอยู่หน้าคอมพิวเตอร์ ฉันจะเป็นชนชั้นแรงงานได้ยังไง?”
ข้อเขียน “เราทุกคนคือชนชั้นแรงงาน” จึงเขียนบอกเล่าถึงประวัติศาสตร์การก่อกำเนิดของชนชั้นแรงงานในระบบทุนนิยมจากอดีตจนถึงการเป็นแรงงานร่วมสมัย และย้อนกลับไปถึงประวัติศาสตร์การเกิดขึ้นของวันแรงงานสากล พร้อมกับการต่อสู้ของขบวนการแรงงานในระดับนานาชาติจนถึงสถานการณ์ของขบวนการแรงงานไทยในปัจจุบัน เพื่อชี้ให้เห็นว่าทำไมเราทุกคนต้องเรียกตัวเองว่าเป็น “ชนชั้นแรงงาน” และทำไมเราจึงต้องออกไปร่วมเดินขบวนในวัน “May Day”
ประวัติศาสตร์ทั้งหมดที่ผ่านมาล้วนแต่เป็นประวัติศาสตร์ของการต่อสู้ทางชนชั้น
สังคมมนุษย์เป็นสังคมที่มี “ชนชั้น” นับตั้งแต่ประวัติศาสตร์ของระบบทาส ระบบศักดินา จนถึงการเกิดขึ้นของระบบทุนนิยม ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เป็นระบบเศรษฐกิจที่มุ่งเน้นการผลิตสินค้าหรือบริการเพื่อตอบสนองต่อตลาด โดยผลตอบแทนจากการผลิตนั้นคือสิ่งที่เรียกว่า “กำไร” รวมถึงความต้องการในการสะสมทุนให้มากขึ้นเรื่อยๆ ของนายทุน ระบบทุนนิยมเป็นระบบแห่งการแข่งขันเพื่อแสวงหาความมั่งคั่งหรือเลื่อนลำดับชั้นให้สูงขึ้นเรื่อยๆ หากจะนึกภาพให้ออกอย่างง่าย ๆ ขอให้เราทุกคนนึกถึงโครงสร้างแบบพีระมิดที่มนุษย์ทุกคนจะต้องตะเกียกตะกายปีนขึ้นไปยังจุดสูงสุด และถีบให้คนที่ปีนขึ้นมาทีหลังไม่สามารถขึ้นมาได้
อย่างไรก็ตาม ระบบทุนนิยมไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ แต่เกิดขึ้นจากพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของมนุษย์ นับตั้งแต่สังคมเกษตรกรรมเกิดการล้อมรั้ว(enclosure) สร้างความเป็นเจ้าของในที่ดิน “ระบบกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล” (private property) จึงถือกำเนิดขึ้นมา เมื่อที่ดินกลายเป็นสิ่งที่มีเจ้าของ ชนชั้นชาวนาในระบบเกษตรกรรมที่ทำนาหาเลี้ยงชีพ ก็กลายมาเป็นแรงงานของชนชั้นเจ้าที่ดิน ชาวนาต้องทำการผลิตเพื่อส่งผลผลิตให้กับเจ้าที่ดิน ระบบทุนนิยมยุคแรกจึงไม่ใช่ ”ทุนนิยมอุตสาหกรรม” (industrial capitalism) แต่เป็น “ทุนนิยมเกษตรกรรม” (agrarian capitalism) ซึ่งการแบ่งแยกชนชั้นออกเป็นชนชั้นไร้ปัจจัยการผลิตซึ่งก็คือชนชั้นแรงงานกับชนชั้นที่มีปัจจัยการผลิตคือชนชั้นเจ้าที่ดินและชนชั้นนายทุนเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในเกษตรกรรม”
แม้สังคมทุนนิยมจะเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ยุคเกษตรกรรม แต่เมื่อการปฏิวัติระบบอุตสาหกรรมมาถึง พร้อมๆ กับการก่อสร้างสถานที่ที่เรียกว่า ”โรงงาน” เพื่อทำการผลิตสินค้าไปขายในตลาดที่มีขนาดใหญ่มากขึ้น ความเป็นสังคมชนชั้นในระบบทุนนิยมจึงมีความเข้มข้นสูงขึ้นเรื่อยๆ ในสังคมทุนนิยมอุตสาหกรรม ได้เกิดการสร้างชนชั้นขึ้นมา 2 ชนชั้น ได้แก่ “ชนชั้นนายทุน” หรือผู้ที่เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต เช่น วัตถุดิบ เครื่องจักร สถานที่ และชนชั้นไร้ปัจจัยทางการผลิต แต่เป็นผู้ที่มีกำลังแรงงาน หรือที่เราเรียกกันว่า “ชนชั้นแรงงาน”
ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั้นนายทุนกับชนชั้นแรงงานในสังคมอุตสาหกรรม ได้ก่อให้เกิดความขัดแย้งและความไม่เท่าเทียมกัน ชนชั้นนายทุนจ่ายค่าจ้างหรือค่าแรงให้กับแรงงานในการผลิตสินค้าเพื่อสร้างผลกำไรให้กับนายทุน เพื่อที่นายทุนจะได้ “สะสมทุน” หรือสร้างความมั่งคั่งได้มากยิ่งขึ้น ในขณะที่คุณภาพชีวิตของแรงงานกลับต้องเผชิญหน้ากับความยากลำบาก ทั้งการทำงานหนักหรือการทำงานเกินเวลา ค่าแรงที่ได้รับในระดับต่ำหรือไม่เพียงพอเหมาะสมกับการดำรงชีวิต อุบัติเหตุหรือความเสี่ยงจากการทำงาน หรือการถูกเอารัดเอาเปรียบอีกมากมาย เพื่อแลกกับค่าจ้างและการมีชีวิตรอด แต่สภาพการมีชีวิตเช่นนี้ ได้สร้างความไม่พอใจให้กับแรงงาน
เมื่อชนชั้นแรงงานรับรู้ถึงการถูกเอาเปรียบหรือที่เราเรียกกันว่า “การขูดรีด” (exploitation) จากระบบทุนนิยม และแรงงานได้เริ่มต้นตอบโต้ต่อสิ่งที่ตนเองถูกกระทำจากชนชั้นนายทุน กลุ่มแรงงานจึงรวมตัวกันเพื่อก่อตั้ง “สหภาพแรงงาน” เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการต่อสู้เรียกร้องคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของแรงงาน สหภาพแรงงานได้ทำการต่อสู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ทั้งการนัดหยุดงาน การเดินขบวนประท้วง หรือการต่อต้านในชีวิตประจำวัน และรวมตัวกันเป็น “ขบวนการแรงงาน” ในเอกสารประมวลวิชา อุตสาหกรรมและแรงงาน ได้เขียนอธิบายถึงลักษณะของขบวนการแรงงานไว้ว่า
“โดยทั่วไป เป้าหมายของขบวนการแรงงานคือ การปกป้องความมั่นคงในการทำงานหรือเงื่อนไขการจ้างของแรงงานด้วยกัน ซึ่งอาจประกอบด้วยผลประโยชน์ระยะสั้น เช่น ปัญหาปากท้อง หรือชีวิตความเป็นอยู่ การต่อสู้ในเรื่องของกฎหมาย เช่น สวัสดิการ การศึกษา การเดินทาง ขนส่ง ชีวิตหลังวัยทำงาน และเป้าหมายที่ไกลที่สุดคือ การต่อสู้เพื่อสังคมที่ดี เช่น ประชาธิปไตยที่เอื้อชีวิตที่ดีแก่แรงงาน คัดค้านการเมืองที่ไม่เอื้อต่อประชาธิปไตย หรือแม้แต่การต่อสู้เพื่อสังคมนิยม เป็นต้น เช่น ในกลุ่มแรงงานที่ก้าวหน้ามากๆ หรือซ้ายจัดมากๆ อาจมีเป้าหมายไปสู่การโค่นล้มระบบทุนนิยมและความเหลื่อมล้ำทางชนชั้น และผลักดันการเป็นคอมมิวนิสต์”
การเกิดขึ้นของวันแรงงานสากล
การต่อสู้หลักๆ ของแรงงาน เกิดขึ้นหลายต่อหลายครั้งในประวัติศาสตร์ แต่การต่อสู้ครั้งสำคัญที่ก่อให้เกิดเป็นวันแรงงานสากล คือ การนัดหยุดงานทั่วทั้งสหรัฐอเมริกา เพื่อเรียกร้องให้มีการออกกฎหมายจำกัดชั่วโมงการทำงานไม่ให้เกิน 8 ชั่วโมงต่อวัน ในวันที่ 1 พฤษภาคม ปี 1886 จนเกิดเป็นเหตุการณ์นองเลือดจากการปราบปรามอย่างหนักโดยรัฐบาลที่ร่วมมือกับชนชั้นนายทุน เวลาต่อมาในที่ประชุมของตัวแทนพรรคคอมมิวนิสต์และสหภาพแรงงานทั่วโลกที่รู้จักกันในนาม “สากลที่สอง” (The Second International) ได้ลงมติให้มีการประกาศนัดหยุดงานของกรรมกรและออกมาเดินขบวนแสดงพลังของชนชั้นแรงงานทั่วโลกในวันที่ 1 พฤษภาคม เพื่อเป็นการเรียกร้องให้หลักการทำงานไม่เกิน 8 ชั่วโมงต่อวันได้รับการนำไปปฏิบัติกับกรรมกรทั่วโลก
ขณะเดียวกัน โรซา ลักเซมเบิร์ก นักปฏิวัติคนสำคัญในประวัติศาสตร์สังคมนิยม ได้เขียนงานสั้นๆ ที่มีชื่อว่า “อะไรคือต้นกำเนิดของวันเมย์เดย์?” (What Are the Origins of May Day) โรซาพาเราย้อนกลับไปสืบประวัติการก่อกำเนิดขึ้นของวันเมย์เดย์ ก่อนจะเกิดเหตุการณ์ในปี 1886 โรซาได้เล่าว่า การรวมตัวกันเพื่อต่อสู้เรียกร้องเวลาในการทำงานไม่เกิน 8 ชั่วโมง เริ่มต้นขึ้นครั้งแรกที่ออสเตรเลีย ในวันที่ 21 เมษายน ปี 1856 หลังจากนั้นขบวนการแรงงานได้รวมตัวกันมากขึ้นเรื่อย ๆ และจัดงานอีกครั้งในปีต่อๆ มา จนกลายเป็นที่มาของการนัดหยุดงานในสหรัฐฯ วันที่ 1 พฤษภาคม 1886 และกลายเป็นวัน May Day โรซาแสดงความคิดเห็นไว้ว่า
“จะว่าไปแล้ว, อะไรเล่าที่จะสามารถทำให้กรรมกรมีความกล้าหาญและศรัทธาในพลังของตนเองขึ้นมา ถ้าไม่ใช่การรวมพลกันหยุดงานซึ่งพวกเขาได้ตัดสินใจทำกันด้วยตนเอง? อะไรเล่าที่จะสามารถทำให้ผู้ที่เป็นทาสตลอดกาลในโรงงานและห้างร้านต่างๆมีความกล้าหาญขึ้นมา ถ้าไม่ใช่การชุมนุมกันของกองกำลังตนเอง? ด้วยเหตุนี้, แนวคิดที่ว่าด้วยการเฉลิมฉลองของกรรมาชีพจึงได้รับการยอมรับอย่างรวดเร็ว และมันได้เริ่มแพร่กระจายจากออสเตรเลียไปยังประเทศอื่นๆ จนกระทั่งมันได้ยึดครองโลกทั้งใบของกรรมาชีพในที่สุด.”
ทุกๆ วันที่ 1 พฤษภาคม จึงเป็นวันที่แรงงานนัดรวมตัวกันเพื่อเฉลิมฉลองและต่อสู้เรียกร้องกับระบบทุนนิยม ขบวนการแรงงานกลายเป็นขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองที่เข้มแข็ง จนส่งผลกระทบไปทั่วทั้งโลกในศตวรรษที่ 19-20 จวบจนศตวรรษที่ 21 ขบวนการแรงงานเป็นขบวนการที่ผูกโยงกับแนวคิดแบบสังคมนิยมที่เรียกร้องความเสมอภาคทางสังคมให้กับคนทุกคน หรือสร้างอำนาจให้กับชนชั้นแรงงานที่จะลุกขึ้นมากำหนดชีวิตของตนเอง จนไปถึงชนชั้นแรงงานได้กลายเป็นแนวหน้าของการปฏิวัติหรือมีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งใหญ่ๆ หลายครั้งในประวัติศาสตร์ทั่วโลก
การเปลี่ยนแปลงของระบบทุนนิยมที่ส่งผลกระทบต่อขบวนการแรงงาน
แม้ขบวนการแรงงานจะมีความเข้มแข็ง เนื่องจากสภาพการทำงานในโรงงานที่ทุกข์ยากลำบาก ได้ก่อให้เกิดจิตสำนึกทางชนชั้นของแรงงานขึ้น จนรวมตัวกันกลายเป็นขบวนการแรงงานที่ทำการเคลื่อนไหวต่อต้านการขูดรีดของชนชั้นนายทุนและระบบทุนนิยม แต่ในปัจจุบัน ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของระบบทุนนิยมอุตสาหกรรม (industrial capitalism) ที่มุ่งเน้นการใช้แรงงานร่างกายในการผลิตวัตถุ (material) โดยทำการผลิตในโรงงาน ไปสู่ระบบทุนนิยมหลังอุตสาหกรรม (post-industrial capitalism) ที่ผลิตสร้าง “อวัตถุ” (immaterial) ซึ่งหมายถึง การผลิตสร้างระบบภาษา สัญญะ ความหมาย อารมณ์ความรู้สึก และความรู้ นอกโรงงานอุตสาหกรรมแบบเดิม
“ซึ่งในระบบทุนนิยมแบบนี้ แรงงานและรูปแบบของงานได้เปลี่ยนแปลงไป การผลิตวัฒนธรรมและระบบความหมายกลายเป็นสิ่งที่อยู่ในชีวิตประจำวันของผู้คนมากขึ้น การผลิตและการคิด/สร้างสรรค์เป็นสิ่งเดียวกันมากขึ้นเรื่อยๆ และงานของแรงงานไม่ใช่การผลิตแค่รองเท้า หรือวัตถุอื่นๆ แต่แรงงานจำนวนหนึ่งเริ่มทำงานคล้ายกับศิลปิน เช่น งานบริการที่ผลิตสร้างความรู้สึก งานสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรม งานเขียน งานโฆษณา งานที่สร้างความหมายให้กับตัวสินค้า เป็นต้น”
การผลิตอวัตถุ (immaterial) เป็นคำอธิบายที่ทำให้แนวคิดที่ว่า “เราทุกคนคือแรงงาน” ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ในระบบทุนนิยมหลังอุตสาหกรรม ไม่มีใครที่ไม่มีส่วนร่วมกับกระบวนการผลิตในระบบทุนนิยม การผลิตได้ย้ายจากโรงงานมาอยู่ในตัวเรา ตัวเรากลายเป็นทั้งกำลังแรงงาน สินค้า เครื่องจักร หรือเป็นปัจจัยการผลิตภายในตัวเอง ตัวเรากลายเป็นสิ่งที่สร้างมูลค่าให้กับระบบทุนนิยม ผ่านการใช้แรงงานที่อยู่นอกโรงงานอุตสาหกรรม การทำการผลิตไม่จำเป็นที่จะต้องอยู่ในโรงงานอุตสาหกรรมอีกต่อไป แต่กระทำได้ในทุกที่และทุกเวลา และกระทำการผ่านการมีชีวิตของเรา
ขณะเดียวกัน แรงงานอวัตถุ หรือจะเรียกว่า แรงงานฟรีแลนซ์ แรงงานสร้างสรรค์ แรงงานรับจ้างเป็นครั้งๆ ไป ฯลฯ ที่ไม่มีเวลาหรือสถานที่ในการทำงานที่แน่นอนตายตัว กลับต้องเผชิญหน้ากับสภาวะที่ไร้ความมั่นคงหรือความไร้เสถียรภาพ คล้ายกับคนตกงาน การเป็นแรงงานรูปแบบนี้ถูกแทนที่ด้วยความคิดแบบ “ผู้ประกอบการ” ที่จะต้องจัดการบริหารสิ่งต่างๆ ด้วยตัวของตัวเอง พร้อม ๆ กับการขยายตัวของลัทธิเสรีนิยมใหม่ ที่ทำลายรัฐสวัสดิการ ทำลายสหภาพแรงงาน ทำให้แรงงานหลงเหลือเพียงปัจเจกบุคคลที่จะต้องรับผิดชอบชีวิตของตนเองอยู่เพียงผู้เดียว
แรงงานทุกคนกำลังเผชิญหน้าอยู่บนโลกที่ไร้ซึ่งฐานใดๆ รองรับ เมื่อไม่มีการจ้างงาน เมื่อเราต้องตกงาน เมื่อเราถูกเบี้ยวหรือกดค่าแรง เมื่อเวลาในการทำงานกับเวลาในการใช้ชีวิตของเราไม่สามารถแยกออกจากกันได้ เมื่อเราต้องจ่ายค่าเช่าหอพักหรือค่าเช่าบ้าน เมื่อเราต้องจ่ายหนี้เป็นจำนวนมาก เมื่อเราต้องจ่ายค่าน้ำค่าไฟค่าข้าวค่ากิน หรือบริโภคสิ่งที่จะทำให้เราหลุดออกจากโลกของการทำงานอันเหนื่อยล้า เพียงชั่วครู่ เพื่อตื่นไปทำงานอีกครั้ง แรงงานทุกคนกำลังเผชิญหน้ากับสังคมที่มุ่งสู่การแข่งขันกันอย่างบ้าคลั่งเพื่อมุ่งไปสู่โลกแห่งความสำเร็จ แรงงานที่พ่ายแพ้ให้กับการแข่งขันนี้ ต้องป่วยเป็นโรคซึมเศร้าหรือเป็นเพียงไอ้ขี้แพ้ คล้ายกับว่าเราเกิดมาเพื่อทำงานแล้วตายไป คงไม่มีอนาคตที่สดใสของโลกใบนี้รอคอยเราอยู่อีกแล้ว
ขบวนการแรงงานสากลจนถึงขบวนการแรงงานไทยในปัจจุบัน
แม้สถานการณ์ของระบบทุนนิยมในปัจจุบัน อาจจะฟังดูเลวร้าย แต่ในขณะเดียวกัน หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต การต่อสู้ของขบวนการแรงงานในศตวรรษที่ 21 ยังคงเกิดขึ้นอยู่เสมอ ภายใต้ระบบทุนนิยมและลัทธิเสรีนิยมใหม่ที่แผ่ขยายไปทั่วโลก ได้เกิดการลุกขึ้นต่อต้านของขบวนการฝ่ายซ้ายมาโดยตลอด จนถึงปัจจุบัน ยกตัวอย่างเช่น เหตุการณ์การประท้วงใหญ่ในฝรั่งเศสเกี่ยวกับการปฏิรูประบบบำนาญ กลุ่มฝ่ายซ้ายได้ออกมาเคลื่อนไหวกันเป็นจำนวนมาก, สหภาพแรงงานในอังกฤษนัดหยุดงานครั้งใหญ่ในรอบ 10 ปี เรียกร้องการขึ้นค่าแรง, คลื่นสีชมพู(Pink Tide) หรือกระแสสังคมนิยมในลาตินอเมริกา, ขบวนการนักศึกษาฝ่ายซ้ายและขบวนการอนาธิปไตยในอินโดนีเซีย, พรรคคอมมิวนิสต์ในอินเดีย ขบวนการนักศึกษาฝ่ายซ้ายใน JNU, กระแสสังคมนิยมและพรรคคอมมิวนิสต์ในเนปาลที่ต่อสู้กันมาอย่างยาวนาน ฯลฯ
ขบวนการแรงงานหรือขบวนการฝ่ายซ้ายในระดับโลก ได้เกิดการต่อสู้กันอย่างเข้มข้นกับระบอบทุนนิยม หากแต่ขบวนการแรงงานไทยกลับอยู่ในสภาวะอ่อนแอ เราอาจย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์ได้ตั้งแต่การปราบปรามขบวนการฝ่ายซ้ายอย่างรุนแรง ในยุค 6 ตุลา 19 การล่มสลายของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย หรือการที่สหภาพแรงงานไปจับมือกับฝ่ายขวาเพื่อทำรัฐประหารปี 49 การเคลื่อนไหวที่ถูกนำโดยองค์กรภาคประชาสังคมหรือขบวนการทางสังคมแบบใหม่ ที่ไม่พูดถึง “การเมืองชนชั้น” หรือวิพากษ์ระบบทุนนิยม จนทำให้ขบวนการทางการเมืองไทยร่วมสมัย กลายเป็นการเมืองของขบวนการแบบเสรีนิยม เป็นต้น
จากตัวเลขสถิติ ขบวนการแรงงานในประเทศไทยถือว่าเป็นขบวนการแรงงานที่มีขนาดเล็กมากในเชิงปริมาณเรามีผู้ใช้แรงงานเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานในอัตราส่วนที่ถือได้ว่าต่ำสุดในโลกเลยทีเดียวคือมีแรงงานเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน 614,312 คน สิ่งเหล่านี้สะท้อนถึงความอ่อนแอของขบวนการแรงงานไทย กระทั่งสหภาพแรงงานยังมีจำนวนน้อยมาก อีกทั้งสหภาพแรงงานกลายเป็นองค์กรที่เรียกร้องเพียงปัญหาปากท้อง จนไม่นำไปสู่การกลายเป็น “สหภาพแรงงานที่เป็นขบวนการทางสังคม” (Social Movement Unionism) รวมไปถึงการไร้ซึ่งสิ่งที่เรียกว่า “ขบวนการฝ่ายซ้าย” เนื่องจากแนวคิดแบบสังคมนิยมยังไม่กลายเป็นแนวคิดกระแสหลักที่จะเข้าไปปะทะกับการต่อสู้ทางอุดมการณ์ของฝ่ายเสรีนิยมและอนุรักษ์นิยม
แต่ในปัจจุบันกระแสการเคลื่อนไหวของขบวนการแรงงานหรือกลุ่มที่มีแนวคิดฝ่ายซ้าย เริ่มค่อย ๆ กลับมาอีกครั้ง ทั้งการเกิดขึ้นของข้อเสนอ RT จวบจนการกลายเป็นกลุ่มก้อนต่างๆ หลังปี 63 ตั้งแต่สหภาพคนทำงาน, สหภาพแรงงานสร้างสรรค์, พรรคสังคมนิยมแรงงาน(SWT), TUMS, ดินแดง, Food Not Bombs CNX, สหภาพบาริสต้าเชียงใหม่, Multitude ฯลฯ การเกิดขึ้นของกลุ่มขบวนการแรงงานหรือกลุ่มฝ่ายซ้ายร่วมสมัยค่อย ๆ เกิดขึ้น ท่ามกลางกระแสสัจนิยมการเมืองไทยที่การเมืองไทยเป็นไปได้แค่การเมืองแบบเสรีนิยมและอนุรักษ์นิยม แนวคิดแบบสังคมนิยมเป็นคลื่นใต้น้ำที่กำลังขยายตัวขึ้นอย่างช้า ๆ จากปัญหาของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมที่เราทุกคนกำลังเผชิญ แนวคิดแบบสังคมนิยมจึงได้รับการกลับมาพูดถึงอีกครั้ง
ชนชั้นแรงงานกับการร่วมเดินขบวนในวัน May Day ปีนี้และต่อจากนี้
นับตั้งแต่ประวัติศาสตร์การเกิดขึ้นของ “ชนชั้น” ในระบบทุนนิยมเกษตรกรรมจนถึงการเกิดขึ้นของระบบทุนนิยมอุตสาหกรรมที่เอารัดเอาเปรียบชนชั้นผู้ไร้ปัจจัยการผลิตอย่างรุนแรง จนปะทุกลายเป็นขบวนการเคลื่อนไหวของชนชั้นแรงงานสู่การเกิดขึ้นของวันแรงงานสากลในประวัติศาสตร์ มาถึงการเปลี่ยนแปลงของระบบทุนนิยมหลังอุตสาหกรรมและลัทธิเสรีนิยมใหม่ที่ทำลายความเข้มแข็งของขบวนการแรงงานลง แต่สภาพย่ำแย่ของโลกทุนนิยมไม่อาจสามารถหยุดยั้งการเคลื่อนไหวของแรงงานทั้งในระดับสากลและในสังคมไทยได้
วันที่ 1 พฤษภาคม หรือวัน May Day ปีนี้ จึงเป็นอีกวันหนึ่งที่กระแสการต่อสู้ของขบวนการแรงงานด้วยแนวคิดแบบสังคมนิยม ที่พูดความถึงเสมอภาค ความร่วมแรงร่วมใจ และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จะกลับมาอีกครั้ง การเมืองแบบรัฐสภาที่จะต้องมี “ตัวกลาง” ในการแก้ไขปัญหา อาจไม่ใช่วิธีการต่อสู้ทางการเมืองของขบวนการแรงงานเพียงวิธีการเดียว แต่การรวมตัวกันเพื่อจัดตั้งสหภาพแรงงานที่เป็นขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมือง การสร้างกลุ่มศึกษาสังคมนิยมเพื่อมองหาข้อถกเถียงหรือบทสนทนาสำหรับความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ทางการเมือง ทั้งการต่อสู้ในระดับชีวิตประจำวันที่พูดถึงปัญหาของระบบทุนนิยมที่เราทุกคนกำลังเผชิญอยู่ การประกาศถึงความปรารถนาที่เราจะมีชีวิตที่ดีขึ้นมากกว่านี้ ผ่านการรวมตัวกันของ “ชนชั้นแรงงาน” เป็นทางออกสำหรับขบวนการแรงงานในปัจจุบัน
พบกันวันที่ 1 พฤษภาคม ทั่วท้องถนนที่สร้างขึ้นจากน้ำมือของแรงงาน ทั้งในปีนี้ และในปีถัดไป และในทุกๆ ปี จนกว่าชนชั้นแรงงานจะกำหนดชะตากรรมของตนเองได้ การต่อสู้ของแรงงานจะเกิดขึ้นในทุกวัน ทุกเวลา ทุกวินาที และทุกสถานที่ เพราะเราไม่มีอะไรจะสูญเสียนอกจากโซ่ตรวน เพราะเราทุกคนคือชนชั้นแรงงาน
This article is written by Multitude (Radical Socialist Movement in CNX)
Follow the author at Facebook
by DinDeng | Apr 18, 2023 | Articles บทความ, English, Featured EN, สิ่งแวดล้อม Environment, เศรษฐศาสตร์ Economics
ภาษาไทย
During the past two decades, the north of Thailand has been turned into a corn factory farm, pouring toxic smog into the sky. Government, business and environmental groups offer few solutions. The only way to free us from this poison cloud is to empower farmers, to give them more autonomy and bargaining power against monopolies in the agricultural industry.
–
In the past 15-20 years the annual smog situation in the north has become increasingly unbearable for local people. Lampang, Chiang Rai, and Chiang Mai city are consistently the most polluted in the world around March and April. Generally, those elites in Bangkok who govern the country are unaware, disinterested, or vindictive. After they come to travel the north in the beautiful fresh air of the winter season, they return home, while those of us still here suffer as the cloud of pollution steadily builds to a crescendo.
Many articles and research papers have been penned on the topic, however, to accurately diagnose the cause of the issue we have had to wade through masses of bad reporting, misinformation, uncooperative government agencies, and an academic system that exists under the weight of the biggest agricultural monopolies in the world. Without naming the names of some of these litigious companies and their subsidiaries, their impact on the aforementioned institutions can not go unrecognised, much like that of the oil giants on climate change reporting. Go to any university agricultural fair in Thailand and the monopolies marquees are inescapable.
This is to say that; to research this article, we have had to largely fall back on lived experiences and first-hand accounts from specialists in the region. For this piece, we interviewed and spoke to numerous rural farmers, local village residents, agricultural, ecological, and economic specialists, as well as animal rights activists. We, and everyone we spoke to, reached the consensus that the cause of the smog can most likely be entirely attributed to corn burning, rather than other suggested roots such as sugarcane farming, vehicle exhausts, forest fires or even cooking and cigarettes. Of course, there are other forms of toxicity in the air caused by the aforementioned polluters, however, the annual smoke that affects the north of Thailand in the summer months is a separate phenomenon. In the case of Sugarcane farming, for example, waste is burnt throughout the year, not just in the summer dry months, whereas corn is specifically burnt during the dry season.
The area that makes up northern Thailand, is under a cloud of smoke imposed on us by mass agribusiness. The rural working class bears the brunt of this labour exploitation, ecological devastation, and victim blaming, while the true perpetrators in Bangkok continue to hoard the wealth it brings unabated as the north slowly suffocates.
The Farmers
We recently stayed in the rural area of Southern Nan province during the corn harvesting season. We took a walk up the Doi to the corn fields with a local farmer, Auntie Dang. She was born in this village, after graduating middle school she moved to Bangkok to work in a garment factory. Shortly after her son was born she lost her husband and moved home to the countryside to eke out a living in the fields. She tells us this story as we climb the hill, it is beautiful here, a paradise. It’s a clear day, before the smog, we can see over the mountain tops all the way to the Laos border. Below the peaks are narrow fertile river valleys, they’re green, dotted with wooden village homes. During the dry season, groundwater springs bubble up to provide natural irrigation and clean drinking water. The local people grow rice and vegetables as well as raise animals for meat. Overlooking them are the corn fields, the dry distant bald looking hilltops, too high for the spring water to reach.
Electricity came to this village only around 30 years ago, the same time as a middle school opened in the Amphoe. The nearest 711 is still over 1 hour’s drive away. The local people speak a version of Kham Mueng which is unfamiliar to us. It’s fast, not at all like in Chiang Mai, I struggle to understand them in their thick accents. They are old, tough people, their hands and faces weathered from a lifetime of agricultural work. Very few young people live in these villages, the population is declining. The youth have mostly moved to the city, Bangkok, Chiang Mai, or Phrae seeking work, few return.
The walk to Auntie Dang’s fields is tough, the hill is steep. After we pass the treeline we hit the corn fields. The rest of the day will be all corn. The stalks stretch off beyond the peak. Corn, corn, and corn. It is dead, dry, and faded. Auntie Dang explains that they let it die and dry out for harvest. Along the way, we see some uncles in the fields with machetes harvesting the husks. Corn plants are tall, nearly two meters, tightly wrapped with layered leaves and stems, the kernels (seeds) themselves are then attached to the cob. For corn the kernels are all you want, those yellow seeds, as such, harvesting creates a huge amount of organic waste for the return on the usable product.
The Harvest
We reach Auntie Dang’s fields, where two uncles are working there, we say hello and share some cigarettes. Felled corn plants crunch beneath our feet and wrap around our ankles. Here the harvested corn is put in sacks, the waste product is left on the ground. We walk up a little further to a sala to rest. We clamber in and lie down on the burlap sacks, filled with… Corn… It’s quite comfortable…
After the harvest, the corn ears will be sent down the mountain to the processing facility, where the kernels are stripped, weighed, and sent for further processing in the central region, where it will be turned into animal feed. Auntie Dang does not legally own the farmland, it was distributed to her by the farmer’s collective of the village who cleared it. Here they share both land and labour. She tells us that she makes very little income from her fields. Just a few thousand baht after the harvest, that money, however, is crucial for her and her son.
Mass corn farming is a relatively new development in these villages. Land dedicated to corn in the north has quintupled in the past 20 years. Before corn, the locals would live off of a mostly subsistence economy, their outside income came from raising pigs that they sold at the market. The fields we’re walking in were cleared around 20 years ago, in the past it was forest. Today the locals still largely produce all the basics they need in the valley– rice, meat, fruit, and vegetables. However, an outside income is still necessary. Bills have gone up, electricity, wifi, and phone costs, as well as other modern necessities like home appliances and electronics. For those like Auntie Dang, who hope to send their children to university, the additional income from corn is essential.
After the corn is harvested, the fires begin. Fire is the only way to clear all of that waste product on the land to make space for next year’s crop. In more agriculturally developed corn-producing countries like those in Europe, the land is not burnt but plowed, digging the waste product into the soil, allowing for it to biodegrade and making space for new seeds. However, in these steep hills, with its elderly population, the labour power simply does not exist, nor does the technology or infrastructure to bring heavy agricultural machinery up the near vertical dirt tracks. Furthermore, during the dry season after harvest, there’s no rain to provide the necessary moisture to allow the waste to adequately degrade.
Fire
Controlled fires are set alight. It creates a heavy thick smoke that lazily drifts into the air. A few uncles and aunties stand around keeping an eye on it, making sure it doesn’t get out of control. It’s hot dirty work, best done in the evening or early morning. Across the northern region these fires are light. From Phetchabun to Mae Hong Son, Chiang Rai to Kamphaeng Phet. Thousands of small controlled fires, sending the unwanted corn waste up into the sky. On occasion, field fires get out of control, and forest fires erupt. A smog descends on the region. Beginning in February, often it lasts until May. Rain seldom falls to clear the stagnant air, nor weather systems to disperse it. It engulfs Auntie Dang’s village, where life is lived outside of air-conditioned walls, causing respiratory problems that will last generations.
Outside attitudes towards the Northern peasantry are far from flattering. Stupid and ignorant bumpkins (คนบ้านนอก). They burn their land and then complain about the pollution. The urban middle class in the north has little sympathy for the farmers in the hills who pollute their cities, while those charged by Bangkok with governing the region often just ignore the issue, occasionally penning into law some anti-burning legislation, which does nothing other than penalising an unlucky few farmers. Provinces like Chiang Mai also outright ban burning, while investing heavily in the fire management budget, which does nothing to solve the root cause of the problem. Enraged urban citizens have even demanded the confiscation of land as punishment for those who seem to carelessly burn the fields– when ironically many of the farmers don’t even own them.
Cross border smoke
Beyond Thailand’s borders in Laos, Burma, and Southern China, similar agricultural practices take place. However, none are as systematically ubiquitous as Thailand’s. Accurate information on arable land in this cross-border region is hard to find. However, we can make some assessments based on the population sizes of these rural areas.
The northern Thai region where corn is grown (including the provinces of Kamphaeng Phet, Phetchabun Loie and Takk) is around 9.3 million. The neighbouring corn-growing regions of Burma have a population of around 3 million (though much of the arable land is far from the Thai border). In the same regions of Laos around 1 million and in China only around 1.5 million as the highland becomes exceedingly non-arable further north of Xishuangbanna.
These neighbouring regions are far less densely populated than Northern Thailand, suggesting that they don’t have anywhere near the labour force to carry out as large of an agricultural operation as the kingdom. These regions are also far less agriculturally developed than Thailand, as we’ve noted, the annual smog only significantly developed in this region around 20 years ago. Furthermore, another method of gauging a region’s agricultural intensity is to simply look at the region from a satellite image. Here we can see a clear difference between the heavily populated and farmed northern Thai region, compared to the surrounding area. All of this suggests that northern Thailand is leading the way in deforestation for agricultural use, making it the main source for the annual smog rather than the surrounding countries. Ironically too, the corn grown outside of Thailand is bought by a Thai agricultural monopoly (though to what extents we cant be sure), showing that while people and governments are constrained by national borders, both smoke and capital are not.
In 2022, the import value of corn rose to 13,200,999,565 baht and increased 560.53 % from 2018 (at 1998537516 baht/55514931 usd) and corn is under trade agreements among Thailand and ASEAN so the import tax is at 0% from the pic below TT
Here we can see the distinct characteristics of northern Thailand. The area is far more deforested than the surrounding region, suggesting a significantly highly agricultural output. Greenpeace did a far more detailed satellite analysis that can be found here.
Incidentally, this comparison between satellite imagery from 2002 and 2021 shows the extent of deforestation of land for agricultural use:
Economics
To understand the cause of the smoke we must look beyond the fire. The reality is that these farmers have no choice, just like those commuters in the city that burn petrol on their way to work. Corn is grown in these fields, not for the locals but for Thailand’s behemoth meat and animal feed industry. Thailand exports double the quantity of edible meat as neighbouring Malaysia, and more than Vietnam and Indonesia combined with its chicken meat exports industry the third largest in the world.
As of 2021, 7 million rai of land in Thailand was used to grow corn for animal feed. Nearly 5 million rai of that is in the North, with 90% of corn grown in Thailand is used for animal feed. Between 2002-2022, corn planting for animal feed increased from 621,280 rai to 2,430,419 rai (4 times more), during that period we can see meat exports increase at an identical rate.
Aside from meat, for maize (corn) Thailand is also the largest exporter in the region as well as the 12th largest animal feed exporter in the world. Ultimately those who make significant money from corn are not the farmers, they are the monopolists of the agricultural sector in Bangkok and overseas. Indeed one litigious Thai company, in particular, is the world’s largest producer of animal feed. These are the real owners of the farmers’ labour, they are forcibly holding the farmers’ hands to light flames in the field and leaving them to take the blame.
Solutions
The issue of burning is a class-based problem, as such, it requires a class-based solution. Once we assess the situation as farmers being forced to burn agricultural waste, we can clearly see that the only way to stop this is for farmers to break out of that exploitative relationship and free themselves from the agricultural monopolies.
The monopoly’s leverage over the farmers is poverty. Without the meager income provided by corn they would be destitute. Many farmers, like Auntie Dang, are already living month to month.
Fortunately, environmental and social policies abroad provide some guidelines. For example, the model of set-aside programs. This is the practice of paying farmers to not farm certain fields in their land, typically 20%, to let the land regenerate. In the case of Thailand, this could be implemented to allow the biological waste product to decompose organically, rather than burning. Such a scheme wouldn’t even be particularly expensive, as income for farmers is shockingly low. Those extremely wealthy company owners could certainly afford to take a small cut in income to spare millions from living in suffocating smog.
Another agricultural solution is one already practiced in large areas of the north, simple crop rotation. This is the method of changing the crop after each harvest, mostly employed by rural Karen farmers. Typically the rotation is corn → rice → beans → corn etc… They also leave the land for 1 full year allowing the waste to organically decompose. Rotation not only would reduce the burning of corn waste but improves the quality of the soil and creates much-welcomed labour variety for farmers. In some of the steep highlands, like Auntie Dang’s farm, where rice growing is not a viable option, a combination of crop rotation with other viable crops and set aside would drastically tackle the need for annual burning. The question then becomes, what do we value more, the health of millions of people, or the profits of a small clutch of billionaires?
Other social schemes that benefit the rural working class would also be a means of solution, albeit indirectly. For example, free university tuition provided by the national government, or even free village wifi provided by the moo-baan would drastically ease the costs of daily life for the rural poor. As is the case with Auntie Dang, this would make local people less dependent on the relatively low income that comes from corn production.
Furthermore, economic verification schemes such as Japan’s successful OVOP policy, which developed into Thailand’s OTOP (One Tambon One Product), sought to create greater variety in economic production village to village, while simultaneously ensuring community ownership of the means of production. This allows villages not to be dependent on any individual monolithic cash crop like corn in the north, and sugarcane in Isaan. Indeed, this scheme was widely successful in the northern region before the 2006 post-coup government largely abandoned the program.
These agricultural solutions however are limited by the financial bottom line of the agricultural monopolies, while governmental social programs that aid the rural working class have persistently been considered a threat to urban Bangkok hegemony. Corn is something of a wonder crop. It can be stored for over a decade and processed into a wide range of staples, from animal feed to flour to fuel. The stability of this dependable crop also makes it a safer bet for farmers, rather than garlic or onions, which require more specific weather conditions and more advanced irrigation. As such, lines of credit from banks to farmers are far easier to get when the income of a corn harvest acts as solid future collateral. Any change in farming methods or crops would put the farmers at greater economic risk and detract from the income of the monopolies.
Change
Here we need to assess how change occurs in Thailand. Advances in quality of life for rural farmers in the past century have not come as benevolent handouts from the state, but only after significant and organised fights by the rural working class demanding a better deal. The Bangkok government has consistently used a carrot-and-stick response to these demands. Post-WWII farm organisers were murdered en masse by the state, a grim reminder for those who sought to change the status quo. While simultaneously peasants were granted greater rights, as well as social programs and land ownership as a means of quelling their dissent. One of the primary mechanisms of rebellion was that of the Communist Party Thailand insurgency, which was highly active in Nan province as well as in other rural areas of the country. The carrot can be seen in the local middle school in Auntie Dangs Amphoe and the electrification of the village 30 years ago, curiously coinciding with the disbanding of the insurgency. In more recent years social reforms by Thai Rak Thai targeting improving the quality of life for rural people led to the red shirt movement, which was brutally crushed by the state.
Today, these hard-fought-for gains are gradually expiring. Few Thai Rak Thai policies, like OTOP, have survived the past two coups, and while many peasants have gained land rights they have also fallen into debt on that land, reversing their gains and sliding their lives back to something akin to the feudal era, where they worked the land they did not own. Meanwhile, the economic landscape of Thailand has “developed”. The land has become more “productive” for capital. What this looks like in reality is mass agribusiness monopolies benefitting from monolithic cash crops like corn and extracting maximum profit from the land and the labourers who till it.
Nan to Lamphun
We bid Auntie Dang and the uncles farewell and leave the highlands of Nan, passing through numerous villages, the roads dotted with advertisements; pictures of corn with coded letters and numbers below. H23374, H46284, etc… These are adverts for different corn seed variants, the harvest season is approaching and farmers are preparing to sow the next year’s crop. We pass Phrae and Lampang, through highlands and into valleys. A pattern emerges. In the highlands, the corn adverts appear and then disappear again in the valleys.
We reach Lamphun, to visit a friend in a picturesque lowland village. Here there are no adverts, but we see some corn fields in the Moobaan. We ask our friend why. “It’s because those numbers you see on the adverts refer to corn for animal feed, the kind of corn we grow here is for people to eat, it’s pretty much just sold locally,” she tells us. We ask if they burn the corn here. “Sometimes, but if they burn it they don’t usually do it in the burning season, they can grow and harvest it throughout the year on the flatland because we have stable irrigation all year round”.
These conversations and observations give answers which can be surprisingly hard to find. Finding accurate information on agribusiness in Thailand is not only challenging but misleading. We have to talk to local people, visit these sites and make our own observations on an industry which is ubiquitous yet somehow shrouded in smoke. As usual, the local people, the local workers know the reality.
Northern Thailand is a factory farm for corn. This factory is pouring smoke into the air and polluting the region for everyone who lives there. The factory is not owned by the local people but by elites in Bangkok and abroad. As with any factory pouring out smoke, it is ludicrous to blame and penalise the factory workers instead of the owners. To truly solve this problem, it is incumbent on everyone who breathes mountain air, the factory workers, the farmers and us common people, to seize the factory for the benefit of not just themselves, but everyone in the region as a whole.
Poetry on the International Day of Peasant Struggles to remember the massacre of landless peasants in Brazil, 1996, “Eldorado dos Carajas”
In Thailand, 17 April was also the date that Billy Porlajee disappeared and was later suspected as a forced disappearance and a murder by state officials.
Translated from Portuguese by PR
We feel this blow against our bodies
that comes from the terrible place where we live.
We have a nation of people
who are excluded from the nation.
We have a nation of people
who are excluded from life.
We have a nation of people
who are silent.
We have a nation of people
with no face.
We have a nation of people
with no name.
Buried by silence.
Is a dream worth alive?
I don’t know.
But I have learned over my short life that death does not dream.
Is the land worth a dream?
The land already has been worth infinite cruelty against the landless peasants.
Today the silence weighs on us like the eyes of the baby
that has been shot with the bullets.
If we accept to be silenced,
then the stones will scream.
If we accept to be silenced then the stones will scream.
by DinDeng | Dec 27, 2022 | Articles บทความ, แนะนำ Introducing, ไทย
ผู้แปล สหายสวนสาธารณะ
เราทุกคนอาจเห็นตรงกันว่า รัฐสวัสดิการยกระดับความเป็นอยู่ของแรงงานให้ดียิ่งขึ้น แต่ก็มีคนไม่น้อยเช่นกันที่แย้งว่า สวัสดิการถูกใช้เป็นสินบนเพื่อเหนี่ยวรั้งแรงงานมิให้ก่อการปฏิวัติที่ใหญ่กว่านั้น หรือกล่าวอย่างง่ายก็คือ สวัสดิการไม่ใช่แนวคิดแบบคอมมิวนิสต์
ภายใต้โครงสร้างสังคมแบบทุนนิยม ชนชั้นกระฎุมพีจะขูดรีดชนชั้นแรงงานโดยการใช้แรงงานของพวกเขาเพื่อผลิต (ความมั่งคั่ง) ส่วนเกิน ชนชั้นนายทุนหวังจะขูดรีดความมั่งคั่งจากแรงงานของชนชั้นแรงงานให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ ซึ่งนำไปสู่สภาพการทำงานที่ทารุณมากขึ้นและค่าแรงที่ต่ำลง อย่างไรก็ตาม นายทุนยังจำเป็นต้องดูแลแรงงานอยู่ในระดับหนึ่ง ซึ่งจะไม่ทำให้แรงงานนั้นตายไปก่อน และทำให้แรงงานมีทักษะและมีศักยภาพในการเลี้ยงดูแรงงานรุ่นถัดไป นับตั้งแต่ทุนนิยมสมัยใหม่ได้ถือกำเนิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐได้เข้ามารับหน้าที่ในการดูแลที่ว่านี้ โดยรัฐจะเป็นผู้มอบสวัสดิการสังคมให้แก่คนงาน ไม่ว่าจะเป็นโรงพยาบาล โรงเรียน เงินเกษียณอายุ สิทธิในการลาป่วย ฯลฯ
สวัสดิการในยุโรป
การประสานกันระหว่างรัฐ (state) กับทุน (capital) ในลักษณะที่ว่านี้เริ่มนำมาใช้ในยุโรปตะวันตกหลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้นมา เดิมทีประชาชนเป็นผู้ที่ต่อสู้ในเรื่องดังกล่าวผ่านทั้งการจัดตั้งสหภาพแรงงาน การประท้วงหยุดงาน และแนวทางแบบพรรคแรงงานในสภา (Parliamentray Labour Parties: PLP) แรงงานชาวยุโรปชอบอกชอบใจแนวคิดคอมมิวนิสม์อยู่เป็นเวลาหลายทศวรรษ และตั้งแต่การผงาดขึ้นมาของสหภาพโซเวียต คอมมิวนิสม์ก็ถูกนำเสนอว่าเป็นทางเลือกที่เป็นไปได้จริงนอกเหนือไปจากทุนนิยม ด้วยเหตุนี้ แรงงานและพรรคสังคมนิยมในยุโรปตะวันตกจึงต้องเลือกว่าจะสนับสนุนรัฐสวัสดิการหรือจะปฏิวัติอย่างเต็มรูปแบบ การถกเถียงในเรื่องดังกล่าวจึงวางอยู่ในบริบทของการเลือกระหว่างการปฏิรูป (Reform) (ผ่านรัฐสภา/สวัสดิการ) กับการปฏิวัติ (Revolution)
กล่าวโดยพื้นฐานแล้ว ผู้ที่สนับสนุนรัฐสวัสดิการจะมีอยู่สองกลุ่ม
- กลุ่มนายทุน : คนกลุ่มนี้เชื่อว่า การมอบสวัสดิการให้แก่คนงานจะทำให้ทุนนิยมสามารถดำเนินไปได้อย่างราบรื่นขึ้น ทั้งยังเชื่อว่า เมื่อชนชั้นกรรมาชีพนั้นสุขกายสบายใจแล้ว ทุนนิยมจะรุ่งโรจน์ นี่เป็นโมเดลที่ได้รับความนิยมในหมู่นักสังคมประชาธิปไตย (Social Democrats) อาทิ ในประเทศแถบสแกนดิเนเวีย
- กลุ่มนักปฏิรูปสังคมนิยม : คนกลุ่มนี้เชื่อว่า เราสามารถปฏิรูปทุนนิยมให้กลายเป็นสังคมนิยมได้ อีกทั้งยังสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในสภาผ่านการเลือกตั้งแบบประชาธิปไตยรัฐสภา ด้วยการลงคะแนนเสียงให้พรรคสังคมนิยม และให้พวกเขานำรัฐสวัสดิการมายกระดับคุณภาพชีวิตแรงงาน ซึ่งโมเดลนี้จะเป็นที่นิยมในหมู่พรรคแรงงาน
ทั้งสองกลุ่มนี้ แม้จะมีปลายทางที่แตกต่างกันมาก แต่ที่ผ่านมาก็ร่วมมือร่วมใจกันต้านเหล่านักปฏิวัติสังคมนิยม นักปฏิวัติสังคมนิยมเชื่อว่า การปรองดองกับประชาธิปไตยแบบทุนนิยมนั้นสูญเปล่า เพราะรัฐทุนนิยมมีโครงสร้างส่วนบน (Superstructures) ที่มิอาจปฏิรูปได้เลยด้วยซ้ำ ฉะนั้น ระบบทุนนิยมจะต้องถูกล้มล้าง และถูกแทนที่ด้วยระบบที่แรงงานเป็นเจ้าของ หรือให้แรงงานเป็นผู้ครอบครองปัจจัยการผลิตนั่นเอง ซึ่งไม่จำเป็นต้องมีรัฐสวัสดิการแต่อย่างใด กลุ่มนักปฏิวัติสังคมนิยมเชื่อว่า สวัสดิการสังคมภายใต้ระบบทุนนิยม คือการจ่ายสินบนให้คนงานยอมรับกฎเกณฑ์สูงสุดของระบอบทุนนิยม
ในศตวรรษที่ 21 เราได้เห็นการใช้แนวทางต่าง ๆ เหล่านี้ โดยเฉพาะในทวีปยุโรปซึ่งเป็นทวีปที่ทุนนิยมเติบโตที่สุด อาทิ สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส และเยอรมนีตะวันตก เราจะเห็นพรรคแรงงานและพรรคอนุรักษนิยมผลัดกันขึ้นมีอำนาจ พรรคแรงงานอยู่ในอำนาจได้ไม่กี่ปี หลังจากนั้นก็จะถูกพรรคอนุรักษนิยมเข้ามาแทนที่และยกเลิกนโยบายการปฏิรูปก้าวหน้าทั้งหมด เกิดขึ้นทุกครั้งที่มีการจัดตั้งพรรคการเมืองสังคมนิยมที่มีความสุดโต่งกว่าใครขึ้นมา ก็จะถูกพรรคสังคมประชาธิปไตยที่ใหญ่กว่าฮุบเข้าไปรวม ตัวอย่างเช่น พรรคแรงงานในสหราชอาณาจักร พรรคลาฟร็องซ์แองซูมิสในฝรั่งเศส (La France Insoumise) และพรรคสังคมประชาธิปไตยเยอรมนี (Social Democratic Party of Germany, SPD) ช่วงสงครามโลกครั้งที่สองจบลงใหม่ ๆ ยุโรปตะวันตกนั้นเต็มไปด้วยพรรคสังคมนิยมที่กำลังเบ่งบาน ซึ่งปัจจุบันนี้แทบไม่มี ขณะเดียวกัน กว่า 70 ปีที่ผ่านมา พรรคการเมืองในแถบสแกนดิเนเวียที่ออกตัวว่าเป็นสังคมนิยม ก็ไม่สามารถพัฒนารัฐของตนจากทุนนิยมไปสู่สังคมนิยมได้ พวกเขายังคงสืบสานโมเดลแบบทุนนิยมตามเดิม นี่พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า สังคมนิยมไม่เคยเป็นเป้าหมายสุดท้ายของพวกเขาเลยด้วยซ้ำ
การปฏิรูปที่ล้มเหลวมักจะเป็นดังนี้
พรรคสังคมนิยมสนับสนุนสังคมนิยมประชาธิปไตย →
ผู้นำพรรคสังคมนิยมไปปรองดองกับ “พรรคกลาง-ซ้าย” เพื่อเป็นพันธมิตรกัน →
พรรคสังคมนิยมถูกฮุบเข้าไปใน “พรรคกลาง-ซ้าย” →
พรรคสังคมนิยมหน้าใหม่ก่อตั้งขึ้นและเข้าสู่วงจรนี้ ↺
นโยบายหลักของสวัสดิการสังคมอันเป็นรากฐานของการเคลื่อนไหวเหล่านี้ ได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า เป็นเครื่องมือท้าทายทุนนิยมที่ด้อยประสิทธิภาพ มากไปกว่านั้น ตั้งแต่ที่สหภาพโซเวียตล่มสลายและเสรีนิยมใหม่ได้ผงาดขึ้นมา “พรรคห้วก้าวหน้า” หรือ “พรรคกลาง-ซ้าย” ในยุโรปก็ได้ละทิ้งสวัสดิการสังคมยิ่งกว่าเก่า จนกล่าวได้ว่า ตลอดเวลาที่ผ่านมา สวัสดิการนั้นไม่ต่างอะไรกับสินบนที่มอบให้แก่แรงงานเพื่อไม่ให้พวกเขาก่อการปฏิวัติสังคมนิยม
สวัสดิการในซีกโลกใต้ (Global South)
ขณะที่ระบบสวัสดิการในยุโรปนั้นค่อนข้างมั่นคง ทว่าในซีกโลกใต้นั้นกลับไม่เป็นเช่นนั้น ในยุโรปเอง แม้แต่ในประเทศที่มีรัฐบาลขวาจัด ก็มีสวัสดิการสังคมบางอย่างอยู่เสมอ เช่น การศึกษาขั้นพื้นฐานฟรี ขณะที่ในซีกโลกใต้นั้น เมื่อเทียบกับยุโรป สวัสดิการสังคมยังคงมีอยู่อย่างจำกัดกว่ามาก ด้วยเหตุนี้ ลักษณะของสวัสดิการในซีกโลกใต้จึงแตกต่างจากซีกโลกเหนือ (Global North) อย่างสิ้นเชิง
เพื่อที่จะทำความเข้าใจเรื่องข้างต้น เราจำเป็นต้องเข้าใจบทบาทของจักรวรรดินิยมร่วมสมัยและเศรษฐศาสตร์การเมือง ไปจนถึงพัฒนาการของรัฐชาติในซีกโลกใต้เสียก่อน
การสร้างรัฐชาติของประเทศในซีกโลกใต้ทั้งหมดนั้นล้วนเกิดขึ้นภายใต้อิทธิพลของการล่าอาณานิคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่แล้ว รวมถึงประเทศที่ไม่ได้ตกเป็นอาณานิคมโดยตรงอย่างประเทศไทยด้วย รัฐในซีกโลกใต้ทั้งหมดต้องปฏิบัติตามนิยามของคำว่า “รัฐ” ซึ่งสอดรับเข้ากับครรลองของบรรดาอดีตประเทศมหาอำนาจผู้ล่าอาณานิคม ลักษณะของรัฐโดยสังเขปก็คือ มีรัฐบาลรวมศูนย์ มีขอบเขตพรมแดนของรัฐที่ตายตัว และมีนิยามสถานภาพพลเมืองที่ชัดเจน อาจกล่าวได้ว่า รัฐเอกราชใหม่หลังยุคอาณานิคมนั้นได้ลอกเลียนโครงสร้างรัฐมาจากกลุ่มรัฐในซีกโลกเหนือ ซึ่งรวมถึงการนำรัฐสวัสดิการสังคมมาใช้ด้วยเช่นกัน ถึงตรงนี้เราคงพอจะเห็นแล้วว่ารูปแบบสวัสดิการของซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้ต่างกันอย่างไรบ้าง
ตามที่กล่าวไปแล้วข้างต้น สวัสดิการในกลุ่มประเทศซีกโลกเหนือนั้นมีประชาชนเป็นคนต่อสู้เพื่อให้ได้มา ผ่านทั้งการจัดตั้งสหภาพแรงงาน การประท้วงหยุดงาน และการเคลื่อนไหวในสภาของเหล่าพรรคแรงงาน (PLP) ทั้งหลาย ขณะที่ในประเทศกลุ่มซีกโลกใต้นั้นเป็นรัฐบาลหลังอาณานิคมที่นำระบบสวัสดิการมาใช้ในรูปแบบอุปถัมภ์ ซึ่งหลายครั้งก็เป็นตามความต้องการของผู้บงการหน้าใหม่จากซีกโลกเหนือหลังยุคอาณานิคม สังเกตได้จากตัวอย่างความสัมพันธ์ของสหรัฐอเมริกากับไทยในช่วงสงครามเย็น โดยสรุปได้ว่า สวัสดิการในบางประเทศอย่างประเทศไทยนั้น เป็นการบังคับใช้แบบบนลงล่างเพื่อต่อต้านการผงาดขึ้นมาของคอมมิวนิสม์ ซึ่งเป็นแนวคิดที่มีอิทธิพลและเป็นภัยในซีกโลกใต้มากกว่าซีกโลกเหนือ เมื่อพิจารณาข้างต้นแล้ว กลุ่มประเทศในซีกโลกใต้จึงยังขาดกลไกในการตรวจสอบว่า รัฐได้นำนโยบายสวัสดิการไปใช้อย่างเคร่งครัดหรือไม่ เพราะไม่มีแม้กระทั่งพรรคแรงงานและสหภาพแรงงานที่ทำงานเป็นชิ้นเป็นอันเลย
สวัสดิการในศตวรรษที่ 21
หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียตและการเคลื่อนไหวคอมมิวนิสต์ระดับสากลส่วนมาก กรรมาชีพในกลุ่มประเทศซีกโลกใต้ทุกวันนี้จึงจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนวิธีการในการปลดแอกตนเอง คำถามคือ แล้วเราควรจะเลือกเส้นทางไหน จะปฏิรูปใช้สวัสดิการแบบยุโรปหรือปฏิวัติแบบถอนรากถอนโคนไปเลย? หากเรานับความล้มเหลวของสังคมนิยมเชิงปฏิรูปในยุโรปเป็นตัวอย่าง คำตอบก็ชัดเจนอยู่แล้ว อย่างไรก็ดี เรายังต้องสร้างความสมดุลระหว่างการบรรเทาทุกข์ของเหล่าแรงงานกับความต้องการปลดแอกอย่างจริงจัง
อีกหนึ่งปัญหาใหญ่ที่ขัดขวางนโยบายสวัสดิการขนาดใหญ่ อาทิ สวัสดิการรายได้พื้นฐานถ้วนหน้า (Universal Basic Income, UBI) ก็คือตัวโครงสร้างเศรษฐกิจของซีกโลกใต้เองที่ถูกจำกัดโดยจักวรรดินิยมร่วมสมัย ซึ่งขับเคลื่อนด้วยการส่งออกวัตถุดิบเป็นหลัก โดยมีจักรวรรดินิยมร่วมสมัยคอยตรึงโครงสร้างนี้ไว้เสมอ ความมั่งคั่งในห่วงโซ่การส่งออกระดับโลกไหลไปสู่ซีกโลกเหนือ หมายความว่า ประเทศที่มีรายได้ต่ำกว่าจะส่งออกวัตถุดิบในปริมาณมากกว่าที่พวกเขาบริโภคเอง และด้วยความที่ว่า สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ เป็นสกุลเงินหลักของโลก ทำให้ประเทศที่ยากจนกว่าติดหล่มความสัมพันธ์เช่นนี้ พวกเขาไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากส่งออกสินค้าใดก็ตามที่ทำกำไรได้สูงสุดเพื่อจะได้เงินสกุลดอลลาร์มา แล้วนำเงินไปซื้อของนำเข้าที่จำเป็นอย่างน้ำมันและยารักษาโรค ด้วยเหตุนี้ ความมั่งคั่งทั้งโลกจึงกองอยู่กับกลุ่มประเทศที่รวยที่สุด ซึ่งหมายความว่า กลุ่มประเทศร่ำรวยสามารถใช้นโยบายสวัสดิการได้มีประสิทธิภาพกว่า เช่น เงินเกษียณอายุที่กำหนดเกณฑ์อายุให้ต่ำลงได้ การรักษาพยาบาลฟรี การชดเชยเงินเมื่อลาป่วย ฯลฯ โดยเป็นเรื่องยากมากหากจะนำนโยบายดังกล่าวมาใช้กับประเทศอย่างประเทศไทยหรือเม็กซิโก เนื่องด้วยโครงสร้างห่วงโซ่การส่งออกที่กล่าวไปข้างต้น ทำให้ชนชั้นกรรมาชีพในประเทศเหล่านี้ไม่สามารถหยุดทำงานได้เหมือนอย่างในกลุ่มประเทศโลกเหนือ
กลับกันโดยสิ้นเชิง ประเทศที่อุดมไปด้วยน้ำมันอย่างนอร์เวย์และคูเวตนั้นสามารถจ่ายเงินทำโครงการสวัสดิการสังคมได้อย่างเต็มที่ เพราะประเทศเหล่านี้ไม่ได้พึ่งพาการขูดรีดกรรมาชีพในชาติของตนจนสุดอัตรา กล่าวอย่างง่ายก็คือ ที่แรงงานชาวนอร์เวย์สามารถมีรัฐสวัสดิการแบบสมบูรณ์และมีชีวิตสะดวกสบายอย่างทุกวันนี้ได้ก็เนื่องมาจากการขูดรีดแรงงานในซีกโลกใต้ทั้งสิ้น ภายใต้ระบบทุนนิยมโลก การที่คุณสามารถมีชีวิตที่สุขสบายได้ก็เพราะมีใครบางคนที่ทำงานให้คุณอยู่ ไม่ว่าจะในระดับท้องถิ่นหรือระดับโลกก็ตาม รัฐในซีกโลกใต้คงต้องมาเป็นนายเป็นบ่าวกันเองหากจะนำโครงการสวัสดิการสังคมมาใช้ตามอย่างนอร์เวย์และคูเวต สำหรับประเทศที่ปรารถนาจะนำสวัสดิการสังคมมาใช้ เช่น ประเทศไทย คงจำเป็นจะต้องหาวิธีปรับใช้นโยบายโดยไม่ขูดรีดแรงงานจากพม่าหรือกัมพูชาต่ออีกทอดหนึ่ง
นี่จึงเป็นเหตุผลว่า ทำไมรัฐซีกโลกใต้ที่ดูแลเอาใจใส่แรงงานนั้นมีความใกล้เคียงกับรัฐสวัสดิการแบบยุโรปมากที่สุดเท่าที่เราเคยพบเห็นมา จึงเป็นรัฐที่ใช้ระบอบสังคมนิยมแทบทั้งสิ้น เช่น เวียดนาม คิวบา และเวเนซูเอลา ทว่าก็ตามเคย ไม่ว่ารัฐเหล่านี้จะมีนโยบายทะเยอทะยานเพียงใด รัฐสังคมนิยมเหล่านี้ก็ต้องรอมชอมกับสัจธรรมแห่งทุนนิยมโลกอยู่วันยังค่ำ ด้วยเพราะห่วงโซ่การส่งออกระดับโลกทำให้พวกเขาต้องนำเข้าสินค้าจำเป็นจากต่างประเทศอย่างยารักษาโรคและเครื่องจักรที่ทันสมัย ซึ่งจะกีดขวางนโยบายอุดมคติใด ๆ ของพวกเขาเอง แม้ว่ารัฐเหล่านี้จะต้องแลกระบอบสังคมนิยมมาด้วยการเข้าฟาดฟันกับจักรวรรดินิยมตะวันตกก็ตาม เห็นได้จากกรณีการปฏิวัติคิวบาและเวียดนาม
โดยสรุปแล้ว การปลดแอกแรงงานหมายความว่า แรงงานต้องเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต นี่คือคอมมิวนิสม์ และหากเราไตร่ตรองให้ดีก็จะพบว่า สวัสดิการไม่ใช่คอมมิวนิสต์หรือสังคมนิยมแม้แต่นิดเดียว สังคมนิยมคือการที่แรงงานนั้นมีอำนาจได้ด้วยตนเอง และพวกเขาสามารถเคลมความเป็นเจ้าของมูลค่าที่เกิดจากน้ำพักน้ำแรงซึ่งถูกขูดรีดกลับสู่ตัวเองได้อีกครั้ง ขณะที่สวัสดิการนั้นคือการที่รัฐมอบคุณภาพการชีวิตขั้นต้นให้แก่แรงงาน การมองชนชั้นแรงงานในทางการเมืองโดยมีฐานคิดที่แตกต่างกันเช่นนี้ เป็นรอยร้าวในหมู่ฝ่ายซ้ายมาตั้งแต่แรกเริ่ม ขณะที่บางคนมองว่า กระบวนการต่อสู้เพื่อสวัสดิการ คือบันไดขั้นสำคัญที่จะช่วยพัฒนาสภาพความเป็นอยู่ (ค่าแรง ความปลอดภัยของที่อยู่อาศัย ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และอื่น ๆ) ให้ดีขึ้นต่อไปและอาจจะเป็นการพัฒนาไปสู่สังคมนิยมได้ แต่ก็ยังมีคนที่เห็นถึงอันตรายของสวัสดิการที่รัฐเป็นผู้มอบให้ ว่าจริงๆ แล้วเป็นเพียงการทำให้กรรมาชีพเงียบงันและสงบลงเท่านั้น
by DinDeng | Dec 26, 2022 | Articles บทความ, ความคิดเห็น Opinion, ไทย
ต้นฉบับ : สหายS!nk
แม้ว่าเหตุกราดยิงสังหารหมู่ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดหนองบัวลำภู จะเพิ่งเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 6 ต.ค. 2565 แต่ทว่ากลับเหมือนถูกลืมเลือนไปจากหน้าสื่อโซเชียลมีเดียอย่างรวดเร็ว เหตุด้วยปริมาณข่าวสารจำนวนมาก ถึงอย่างนั้นผมก็ยังคิดว่าเหตุการณ์กราดยิงนั้นเป็นปรากฏการณ์ทางสังคมที่มีความแปลกประหลาด สะเทือนขวัญและยังคงมีประเด็นที่ไม่ถูกพูดถึงอยู่อีกมาก
เหตุการณ์กราดยิงในโรงเรียน หรือ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนั้น ไม่ว่าจะเกิดขึ้นที่ประเทศใดก็ล้วนแต่มีความแปลกประหลาด เพราะมันไม่ใช่การฆาตกรรมทั่วไปที่มีแรงขับมาจากความอาฆาตพยาบาทส่วนตัว หากแต่เป็นการระเบิดของความรุนแรงออกไปยังผู้บริสุทธิ์ที่ส่วนใหญ่แล้วไม่ได้เคยมีปฏิสัมพันธ์ใดๆ กับผู้ก่อเหตุเลยด้วยซ้ำและแน่นอนว่าสาเหตุของเหตุการณ์เหล่านี้ส่วนใหญ่ก็ไม่ได้เกิดจากการที่ผู้ก่อเหตุ “เมายา” ขาดสติ และประสาทหลอน เพราะเราก็เห็นชัดเจนว่า ไม่มีคนเมายาคนไหนจะมีเจตจำนง การวางแผน และความแม่นยำในการเล็งปืนได้ขนาดนั้น มันชัดเจนว่าผู้ก่อเหตุกระทำการไปขณะที่กำลังมีสติครบถ้วน มิหนำซ้ำยังมีการไตร่ตรองเอาไว้ก่อนอีกด้วย นั่นหมายความว่าเราไม่สามารถใช้เพียงกรอบแบบ “ประสาทวิทยา” หรือ “จิตวิทยาส่วนบุคคล” ในการทำความเข้าใจเรื่องนี้ได้อย่างเพียงพอ เราจำเป็นต้องใช้กรอบแบบ “สังคมวิทยา” หรือเรื่องเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรมมาประกอบด้วย
น่าแปลกใจว่าถ้าหากเรามาดูตามสถิติแล้ว ประเทศที่ขึ้นชื่อเรื่องเหตุกราดยิงในโรงเรียนเป็นอันดับ 1 ของโลก ไม่ใช่ประเทศกำลังพัฒนา หรือประเทศที่กำลังคุกรุ่นไปด้วยไฟสงคราม หากแต่เป็นประเทศอภิมหา “พัฒนาแล้ว” อย่างสหรัฐอเมริกา ในช่วงปี 1966 ถึง 2012 เหตุกราดยิงที่เกิดขึ้น 31% จากทั่วโลก ล้วนเกิดขึ้นในสหรัฐฯ (1) และที่น่าสนใจก็คือ อัตราความถี่ของเหตุกราดยิงเพิ่มจำนวนขึ้นเป็นเงาตามตัวไปกับการเติบโตของแนวคิดแบบ “เสรีนิยมใหม่” เหตุกราดยิงเกิดขึ้นเพียง 4 ครั้งในทศวรรษ1970 และอีก 6 ครั้งในทศวรรษ 1980 ซึ่งพอมาทศวรรษ 1990 จำนวนเหตุกราดยิงเพิ่มเป็น 25 ครั้งและเพิ่มขึ้นไปอีกเกือบเท่าหนึ่งในทศวรรษ 2000 ทว่าหลังปี 2013 เป็นต้นมา เราได้เห็นเหตุกราดยิงมากกว่า 300 ครั้ง เฉลี่ยตกสัปดาห์ละครั้งเลยทีเดียว (2)
แล้วค่านิยมเสรีนิยมใหม่เกี่ยวข้องกับการกราดยิงยังไง? เราจะเห็นได้ว่าหนึ่งในข้อถกเถียงยอดนิยมของผู้ฝักใฝ่ในระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีและเสรีนิยมใหม่ ที่มักใช้เป็นประจำในการโต้แย้งแนวคิดฝ่ายซ้ายก็คือ “ความไม่เท่าเทียมและการแข่งขัน เป็นธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด” หรือเราอาจเรียกแนวคิดนี้ว่า แนวคิดแบบดาร์วินทางสังคม ซึ่งเราจะเห็นได้บ่อยในวลี “อ่อนแอก็แพ้ไป” หลักฐานที่ยืนยันแนวคิดนี้ได้เป็นอย่างดี คือ การตัดสวัสดิการทางสังคมต่างๆ ออกไปการลดกำแพงภาษี หรือแม้กระทั่งการที่รัฐเข้าไป “อุ้ม” บริษัทยักษ์ใหญ่ที่ใกล้จะล่มในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ การเติบโตแบบก้าวกระโดดของลัทธิไลฟ์โค้ช และหนังสือ How to
แนวคิดดาร์วินทางสังคมเชื่อว่าคนที่แข็งแกร่งล่าคนที่อ่อนแอกว่าได้โดยไม่ต้องรู้สึกผิด เพราะว่ามันคือ “การคัดเลือกโดยธรรมชาติ” ตามมุมมองนี้ สังคมก็เป็นแค่ “การทดลองแบบดาร์วินระดับใหญ่” เท่านั้น ตามที่ Corey Robin ตั้งข้อสังเกตไว้ มันคือโลกของ “ปัจเจกผู้แข็งแกร่งและผู้ชนะผู้โดดเดี่ยว ซึ่งได้แก่ตัวแทนทางการเงินและมือปืน” แต่ไม่ใช่ว่าใครๆ ก็เป็นผู้ชนะได้ ผู้ชายจำนวนไม่น้อย (โดยมากเป็นคนขาว) ที่ก่อเหตุกราดยิงเกิดหรือเติบโตมาในยุคเสรีนิยมใหม่และคนพวกนี้ก็กระหายที่จะเป็นผู้ชนะด้วยเหมือนกัน เช่นเดียวกับคนที่เชื่อมั่นในเสรีนิยมใหม่ทั่วไป คนเหล่านี้ชิงชังความเท่าเทียมและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน แต่เชื่อในความแข็งแกร่งและการคัดเลือกโดยธรรมชาติ โลกของคนพวกนี้มีแต่ปัจเจก แต่พวกนี้รู้ดีว่าตัวเองจะไม่ประสบความสำเร็จในชีวิต พวกคนที่หดหู่ซึมเศร้าเหล่านี้จึงหาทางออกง่ายๆ ที่จะทำให้ตนสามารถลิ้มรสการอยู่เหนือคนอื่นสักครั้ง แม้จะแค่ช่วงสั้นๆ สิ่งนี้เกิดขึ้นในรูปแบบของการกราดยิงนั่นเอง คนพวกนี้กลายเป็นผู้ชนะในช่วงขณะที่ได้ฆ่าคนอื่น หลังจากนั้นก็จะปลิดชีพตัวเอง Berardi เรียกมันว่าเป็น “ความมุ่งมั่นที่จะชนะแบบเสรีนิยมใหม่ด้วยรูปแบบของการฆ่าตัวตาย” (3)
ด้วยสาเหตุนี้ทำให้ปริมาณเหตุกราดยิง “ในโรงเรียน” จึงเพิ่มขึ้นอย่างมากเป็นเงาตามตัวของแนวคิดแบบเสรีนิยมใหม่ในสหรัฐอเมริกา ที่เรียกได้ว่าเป็น “ประเทศแม่แห่งเสรีนิยมใหม่” ผู้ที่ทำการผลิตและส่งออกอุดมการณ์แบบเสรีนิยมใหม่ รวมถึงนำมาปฏิบัติใช้อย่างขยันขันแข็ง
มีอยู่หลายครั้งที่ผมได้นั่งคุยปรับทุกข์กับมิตรสหายฝั่งประชาธิปไตยด้วยกัน แล้วมิตรสหายเหล่านั้นก็ปรารภขึ้นมาว่า “กูล่ะสิ้นหวังในชีวิตจริงๆ.. (เล่าถึงปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเรื่องส่วนตัว)..รู้สึกอยากตาย แต่ไหนๆ ถ้าจะตายทั้งทีก็อยากมัดระเบิดติดกับตัวแล้วไป ‘ระเบิดพลีชีพ’ ใส่รัฐสภาแม่งเลย อย่างน้อยการตายกูก็เป็นประโยชน์กับสังคม” แม้ว่าจะเป็นการพูดในเชิงตลกร้ายและผู้พูดก็ยังไม่มีใครไปกระทำการดังกล่าวจริงจัง แต่ผมมองว่าในโมเมนต์ของการพูดแบบทีเล่นทีจริงและการพูดแบบไม่ได้ตั้งใจนี่แหละ หลายครั้งได้เผยให้เห็นถึงข้อความในจิตใต้สำนึกได้เป็นอย่างดี
นอกเหนือไปจากประเด็นว่า “ในปัจจุบันจะยังมีคนยอมตายเพื่ออุดมการณ์อยู่มั้ย?” เราก็สามารถมองคำถามนี้ในมุมกลับได้ว่า “แล้วคนที่คิดจะทิ้งชีวิตไปอยู่แล้ว จะมีสิ่งใดเหลืออยู่ในจิตใจ นอกจากอุดมการณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับจิตใต้สำนึก” มนุษย์เราดิ้นรนทำสิ่งต่างๆ สารพัด ไม่ว่าจะเป็นการเรียน การทำงาน การสร้างครอบครัว การวางแผนชีวิต การต่อสู้ทางการเมือง ฯลฯ ไปก็เพื่อพิทักษ์รักษา “ชีวิต” ของตัวเองให้ยังอยู่รอดต่อไปได้เรื่อยๆ แต่เมื่อคนๆ หนึ่งตัดสินใจจะทิ้งชีวิตตัวเอง หรืออยู่ในภาวะที่เรียกได้ว่า “ไม่มีอะไรจะเสียแล้ว” โมเมนต์ดังกล่าวอาจเผยความจริง ความเชื่อ แรงขับ และความปรารถนาของคนๆ นั้นได้มากกว่าสิ่งที่เขาทำเพื่อจะยังชีวิตให้รอดก็เป็นได้
ประเด็นนี้พาเราไปสู่คำถามต่อไปว่า “ในกรณีของประเทศไทยที่เหตุกราดยิงส่วนใหญ่กระทำโดยทหาร ตำรวจ (ที่ยศต่ำ) ก็เป็นได้สูงว่าเพราะคนๆ นั้นถูกกดทับด้วยระบบราชการ รวมไปถึงการถูกหลอกใช้ให้มีส่วนร่วมในธุรกิจสีเทา (เช่น การค้ายา) ทำไมคนเหล่านี้ไม่เอาความแค้นไปลงกับผู้บังคับบัญชาตัวเองที่เป็นตัวการของความแค้นนี้ หากแต่เอามาลงกับเด็กๆ ในโรงเรียน หรือประชาชนทั่วไป (เช่น เหตุกราดยิงในโคราช) ที่ไม่รู้อีโหน่อีเหน่ด้วยกันล่ะ?”
จะเห็นได้ว่า “ความแค้นบริสุทธิ์” ไม่ได้เป็นคำตอบของคำถามนี้ หากแต่เป็น “ความแค้นที่เจือด้วยอุดมการณ์” ต่างหาก เปรียบเทียบได้กับการที่ฝ่ายประชาธิปไตยถ้าหากคิดว่าจะต้องตายแล้ว ก็อาจเลือกไป “ระเบิดพลีชีพ” ใส่พวกผู้นำเผด็จการ หรือรัฐสภา แต่ที่แน่ๆ คงไม่ออกไปกราดยิงในโรงเรียนเป็นแน่ ในขณะที่บุคคลซึ่งถูกปลูกฝังมาโดยอุดมการณ์แบบฝ่ายขวา ไม่ว่าจะเป็นขวาแบบเสรีนิยมใหม่ “อ่อนแอก็แพ้ไป มีแต่ผู้แข็งแกร่งที่สุดที่จะอยู่รอด” หรือ ขวาแบบศักดินาไทยๆ ที่มีค่านิยมว่าคนที่อยู่ในชนชั้น หรือตำแหน่งที่สูงกว่าย่อมมีความชอบธรรมในการรังแกคนที่อ่อนแอกว่า อยู่ในแรงค์ต่ำกว่า และมีชนชั้นต่ำกว่า
แม้ว่าจะมี “แรงขับ” ทางอารมณ์อันมาจากความรู้สึกถูกกดทับ สิ้นหวัง และโกรธเกรี้ยวเหมือนกันหากแต่ถ้ามี “ตัวกรองทางอุดมการณ์” ต่างกัน การแสดงผลของแรงขับนั้นก็ย่อมต่างกันไปด้วย
ซึ่งในระดับของความรู้สึก ฝ่ายประชาธิปไตยรู้สึกว่าต้นเหตุของความทุกข์ทรมานในชีวิต เกิดขึ้นมาจากผู้นำฝ่ายเผด็จการและระบบเศรษฐกิจสังคม ส่วนฝ่ายขวาจะมองว่าที่ตัวเองเผชิญกับความทุกข์ทรมานนี้ มาจากการที่ตัวเอง “มีแรงค์ทางสังคมที่ไม่สูงพอ” พวกเขาต้องการจะรู้สึกถึงการเป็น “ผู้ชนะ” อย่างน้อยสักครั้งหนึ่งก่อนที่ตัวเองจะตาย
แต่เขาจะเป็น “ผู้ชนะ” ได้หรือ? ถ้าหากส่วนสำคัญของที่มาแห่งอำนาจของพวกเขา มาจากสถาบันราชการที่หยิบยื่นยศ (แม้จะเล็กน้อย) และตำแหน่งแห่งที่ทางสังคมให้พวกเขา นอกจากนี้การเข้าไป “กราดยิง” ในสถานีตำรวจ หรือค่ายทหาร ก็ย่อมมีโอกาสสูงที่เขาจะถูกระงับยับยั้งเหตุด้วยความที่สถานที่นั้นๆ เต็มไปด้วยผู้คนที่มีศักยภาพในการใช้ความรุนแรง การกราดยิงในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และที่ชุมชนของพลเรือนทั่วไป จึงเป็นสนามที่เหมาะสมให้คนเหล่านี้ได้สำแดงอำนาจและความเป็นผู้ชนะครั้งสุดท้าย
ในการพูดถึงประเด็นเหล่านี้ กรอบนึงที่เราจะละเลยไม่ได้ก็คือ กรอบความคิดเรื่องเพศ เพราะส่วนใหญ่ หรืออาจจะเกือบทั้งหมดของเหตุกราดยิงเหล่านี้ล้วนมีผู้ชายเป็นผู้กระทำการ หรือต่อให้ไม่ใช่เหตุกราดยิง แต่เป็นเหตุฆาตกรรมหมู่ครอบครัวตัวเอง ก็มักจะเป็นฝ่ายผู้ชายเป็นผู้ก่อการ ทั้งนี้ไม่ได้จะสื่อไปในแนวเหยียดเพศว่าเหล่าชายแท้เป็นตัวการของความรุนแรงทั้งปวงในสังคม หากแต่จะเป็นการมองเพศชายผู้กระทำการในฐานะที่เป็น Object (ผู้ถูกกระทำ) จากระเบียบวิถีแห่งทุนนิยม-เสรีนิยมใหม่ ซึ่งผู้เขียนจะขอนำเรื่องนี้ไปขยายความต่อในบทความ ชื่อ “Incel ชายแห่งชายชอบ” ที่จะเป็นบทความต่อไป
โดยสรุปแล้ว แม้ว่าเราอาจไม่ได้คำตอบที่สมบูรณ์แบบในการอธิบายเหตุกราดยิงในโรงเรียน แต่ผมเชื่อว่าถ้าหากปรากฏการณ์ทางสังคมบางอย่างเกิดขึ้นในลักษณะที่พ้นไปจากความเป็นปัจเจก หมายความว่า มีการก่อเหตุในลักษณะเดียวกันซ้ำๆ โดยที่ผู้ก่อเหตุไม่ได้รู้จักกันหรือวางแผนร่วมกันมาก่อน เราไม่อาจจะใช้เพียงกรอบแบบประสาทวิทยา (การสรุปว่าผู้ก่อเหตุกระทำการไปเพราะเสพยา หรือมีความผิดปกติทางสารสื่อประสาท) หรือจิตวิทยาส่วนบุคคล (ผู้ก่อเหตุมีปมในวัยเด็ก) หากแต่ต้องใช้กรอบทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ เข้ามาใช้วิเคราะห์ด้วย เพื่อให้เห็นถึงความเชื่อมโยงที่หายไปของปรากฏการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้น ผู้เขียนหวังว่าบทความนี้จะช่วยยกระดับการถกเถียงในประเด็น “เหตุกราดยิงในโรงเรียน” ไปสู่ขั้นที่เราเห็น “ปัญหาที่ซ่อนอยู่ในปัญหา” ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อวางแผนระงับยับยั้ง หรือเริ่มแก้ปัญหาจากรากฐานในโอกาสต่อไป
อ้างอิง:
(1) https://www.bbc.com/thai/articles/clm8lx797gyo
(2) หน้า162 หนังสือ “เมื่อโลกซึมเศร้า” ของ สรวิศ ชัยนาม
(3) หน้า 161 หนังสือ “เมื่อโลกซึมเศร้า” ของ สรวิศ ชัยนาม